บอลลูนวิทยา
มนุษยไดŒเคยฝ˜นที่จะบินไดŒเหมือนนกมาเปšนเวลานาน ตั้งแต‹สมัยดึกดําบรรพแลŒว แต‹มนุษยขณะนี้หารูŒไม‹ว‹า การที่นกบินไดŒเพราะกระดูกของนกเบา และกลŒามเนื้อป‚กของนกไดŒ ถูกธรรมชาติสรŒางใหŒแข็งแรงพอที่จะรับนํ้าหนักตัวของมันไดŒเวลามันกระพือป‚กบิน แต‹กลŒามเนื้อไหล‹ของ คนนั้นอ‹อนแอ คนจึงไม‹สามารถกระพือแขนขึ้นลงแลŒวบินไดŒเช‹นนก ถึงแมŒคนจะไม‹มีป‚กจะบินก็ตาม แต‹คนก็มีมันสมองที่จะคิดหาวิธีบินจนไดŒในที่สุด
ประวัติศาสตรไดŒจารึกว‹า Roger Bacon คือ นักวิทยาศาสตรคนแรกของโลกที่ไดŒ พยากรณว‹า วันหนึ่งในอนาคตมนุษยจะสามารถเดินทางในอากาศไดŒ ถŒาเขาสามารถสรŒาง ป‚กเทียมแลŒวใชŒเครื่องจักรกระพือป‚กเทียมนั้นเร็วๆ แรงกระพือจะทํ าใหŒอากาศมีแรงพยุงยก คนๆ นั้นใหŒลอยขึ้นเหนือพื้นดินไดŒ ถึงแมŒ Bacon จะมิไดŒสรŒางเครื่องจักกลที่ทรงพลังดังกล‹าว แต‹เขาก็ไดŒชื่อว‹าเปšนบุคคลแรก ที่คิดฝ˜นหาวิธีที่จะทําใหŒ มนุษยเหาะเหินเดินอากาศไดŒเยี่ยงเทวดา
ความคิดฝ˜นของคนที่จะบินไดŒเหมือนนกมิไดŒจํ ากัดอยู‹แต‹เฉพาะคนยุโรปเท‹านั้น ในป‚ พ.ศ. 2237 มิชชันนารีชาวฝรั่งเศสที่ไดŒ ไปเยือนเมืองจีนเมื่อกลับมาไดŒรายงานว‹า ในพระราชพิธีราชาภิเษกจักรพรรดิ Fo- Kien เขาไดŒเห็นอุปกรณทรงประหลาดชิ้นหนึ่ง ที่ภายใน บรรจุกาซเบาและอุปกรณชิ้นนี้สามารถลอยไปมาในอากาศไดŒ ขŒอมูลนี้แสดงใหŒเห็นว‹า นอกจาก จีนจะเปšนชนชาติแรกที่รูŒจักทํ าว‹าวแลŒว จีนยังเปšนชนเผ‹าแรกที่รูŒจักทําบอลลูนอีกดŒวย แต‹วิวัฒนาการของเทคโนโลยีดŒานการ ทํ าบอลลูนในจีนมิไดŒดําเนินรุดหนŒาไปเลย เพราะคนจีน ประดิษฐบอลลูนขึ้นเพื่อจะเล‹นเท‹านั้นเอง
Cyrano de Bergerac คือบุคคลต‹อจาก Bacon ที่ไดŒครุ‹นคิดเรื่องที่ จะทํ าใหŒมนุษย สามารถเดินทางไปมาในอากาศไดŒ เขามีความคิดว‹า หากเขาผูกถุงบรรจุอากาศติดกับตัวคน แลŒว ปล†อยใหŒอากาศในถุงถูกแสงแดดแผดเผาจนรŒอน อากาศรŒอนในถุง จะลอยตัวพยุงใหŒคนลอยไปในอากาศไดŒ
แต‹ความคิดฝ˜นนี้ก็ยังไม‹ยิ่งใหญ‹เท‹าความคิดของ Galien แห‹งมหาวิทยาลัย Avignon ในประเทศ ฝรั่งเศส เพราะเขาไดŒพยากรณว‹า วันหนึ่งในอนาคต มนุษยจะสามารถสรŒางยานที่สามารถบรรทุกคน 4 ลŒาน คน ใหŒลอยไปในอากาศไดŒสบายๆ โดยยานนั้น มีกาซรŒอนอยู‹ภายใน แต‹ Galien ก็มิไดŒระบุอย‹างชัดเจนว‹า กาซที่ว‹านั้นเปšนกาซอะไร
และในป‚ พ.ศ. 2319 นั้นเอง เมื่อ H. Cavendish ชาวอังกฤษไดŒพบว‹า ก็าซไฮโดรเจนมีนํ้าหนัก เบากว‹าอากาศราว 7 เท‹า T. Cavallo ชาวอิตาเลียนจึงไดŒใชŒความรูŒนี้ทดลองเป†าฟองสบู‹ดŒวยกาซไฮโดรเจน และก็ไดŒพบว‹า ฟองสบู‹ที่มีกาซไฮโดรเจนบรรจุภายในสามารถลอยไดŒสูงถึงเพดาน และเขายังพบอีกว‹า ถุง กระดาษที่บรรจุไฮโดรเจนก็สามารถลอยไดŒเช‹นกัน Cavallo จึงเปšนคนแรกที่ไดŒแสดงใหŒเห็นว‹าภาชนะเบาที่มี ไฮโดรเจนภายในสามารถลอยในอากาศไดŒ
ในป‚ พ.ศ. 2326 สองพี่นŒองตระกูล Montgolfier ไดŒสังเกตเห็นว‹า ควันไฟที่เกิดจากการเผาไหมŒ เวลาลอยเขŒาไปในถุงกระดาษ จะทํ าใหŒถุงกระดาษนั้นลอย เขาจึงมีความคิดที่จะทดลองทํ าถุงผŒาลินินขนาด ใหญ‹ขึ้นมาเพื่อบรรจุควันและไดŒพบว‹าเวลาเขาเผาฟางขŒาว และขนแกะเขาจะไดŒควันไฟปริมาณมาก เขาพบ ว‹าเมื่อเขาปล†อยควันไฟใหŒไหลเขŒาไปในถุงผŒา เขาตŒองใชŒคนถึง 8 คนเพื่อยึดถุงไม‹ใหŒลอยและเมื่อคนทั้ง 8 ปล†อยมือ ถุงผŒาลินินก็ลอยขึ้นทันที วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2326 จึงเปšนวันประวัติศาสตรเพราะเปšนวันที่ บอลลูนลูกแรกของโลกไดŒถือกําเนิด บอลลูนที่สองพี่นŒองตระกูล Montgolfier สรŒางนี้ สามารถลอยอยู‹ใน อากาศไดŒนาน 10 นาทีและลอยไกล 2 กิโลเมตร ชาวปารีสทุกคนที่ไดŒเห็นการทดลองนี้ ต‹างก็รูŒสึกตื่นเตŒน มากเพราะทุกคนตระหนักว‹าในอีกไม‹นาน มนุษยจะสามารถเดินทางไปในอากาศไดŒไกลๆ โดยการใชŒบอลลูน ที่บรรจุควันนี้เอง
แต‹ก‹อนที่จะทดลองใหŒคนเดินทาง ไปกับบอลลูนเลยทันที Montgolfier ทั้งสองไดŒตัดสินใจใชŒแกะ ไก‹ และเปšดเปšนสัตวนําร‹องก‹อน โดยจับสัตวทั้งสามใส‹ในตะกรŒาที่แขวนหŒอยกับตัวบอลลูน เมื่อการทดลอง ประสบความสําเร็จในวันที่ 21 พฤศจิกายน ของป‚ พ.ศ. 2326 นั้นเอง Pilatre de Rosier และ Marquis d' Arlandes ก็ไดŒออกเดินทางในอากาศเปšนครั้งแรกประวัติศาสตรไดŒจารึกว‹า การเดินทางใชŒเวลานาน 20 นาที และไปไดŒไกล 3 กิโลเมตร โดยบอลลูนไดŒลอยเหนือโลกที่ระดับสูง 1,000 เมตร และในบอลลูนนี้นัก บอลลูนทั้งสองไดŒบรรทุกฟางขŒาวไปด‡วยมากมายเพื่อใชŒเปšนเชื้อเพลิงสรŒางควันใหŒบอลลูน นักบอลลูนทั้งสอง ยังไดŒนํานํ้าเพื่อดับไฟไปด‡วย กรณีเกิดอุบัติเหตุไฟไหมŒบอลลูนขณะเดินทาง
จากนั้นมา วิวัฒนาการของบอลลูนก็ไดŒพัฒนามากยิ่งขึ้นตามลํ าดับ ในป‚ พ.ศ. 2328 J. Jeffries และ F. Blanchard ไดŒประสบความสํ าเร็จในการเดินทางดŒวยบอลลูนขŒามช‹องแคบอังกฤษเปšนครั้งแรกในป‚ พ.ศ. 2478 บอลลูนชื่อ Explorer II ที่มีกาซฮีเลียมบรรจุภายในไดŒบรรทุกผูŒโดยสารขึ้นสูงถึง 25 กิโลเมตร เหนือผิวโลก ความสํ าเร็จครั้งนั้นไดŒแสดงใหŒเห็นว‹ามนุษยสามารถดํารงชีพอยู‹ไดŒอย‹างปลอดภัยในบรรยากาศ ชื้น Stratosphere ถึงแมŒว‹าอากาศบริเวณนั้นจะเจือจางมากก็ตาม
และเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2541 คณะนักเดินทางซึ่งประกอบดŒวย R. Branson ชาวอังกฤษ S. Fossett ชาวอเมริกัน และ P. Lindstrand ชาวสวีเดน ตŒองประสบความลŒมเหลวในการใชŒบอลลูนเดิน ทางรอบโลก โดยไม‹หยุดพักกลางทาง หลังจากที่บอลลูนของเขาทั้งสามลอยไปไดŒไกล 13,000 กิโลเมตร
เพื่อขจัดป˜ญหาบอลลูนถูกลมพายุเบื้องบน กระหนํ่า คณะนักสํ ารวจชุดใหม‹ที่มี J. Wallington ชาวออสเตรเลียเปšนหัวหนŒาคาดหวังจะสรŒางบอลลูนที่ทําดŒวยวัสดุ polyethylene ที่บาง เบา แต‹เหนียว โดยใหŒบอลลูนที่สรŒางมีเสŒนผ‹าศูนยกลาง 140 เมตรและสูง 210 เมตร คณะสํ ารวจตั้งใจจะลอยบอลลูนที่ ระดับสูง 40 กิโลเมตร เพราะที่ระดับความสูงเช‹นนี้ลมพายุจะไม‹มีและดŒวยความเร็ว 110 กิโลเมตร/ชั่วโมง บอลลูนจะใชŒเวลานาน 16-18 วันในการเดินทาง 37,000 กิโลเมตรรอบโลก ป˜ญหาใหญ‹ในการเดินทางที่ ระดับสูงเช‹นนี้คือระบบช‹วยหายใจของนักบอลลูน จะตŒองทํางานไม‹บกพร‹องเลย เพราะที่บริเวณนั้นความหนา แน‹นของอากาศเปšนเพียง 2.5% ของความหนาแน‹นอากาศที่พื้นดินเท‹านั้นเอง
ขŒอจํากัดที่สําคัญที่สุดในการใชŒบอลลูน คือเราสามารถใชŒบอลลูนไดŒเฉพาะในสถานที่ที่มีบรรยากาศเท‹า นั้น เช‹น บนโลก เปšนตŒน เพราะโลกมีบรรยากาศ แต‹ในกรณีของดาวที่มีบรรยากาศนŒอย เช‹น ดาวอังคารซึ่ง มีความหนาแน‹นของบรรยากาศนŒอยกว‹าของโลกประมาณ 100 เท‹า บอลลูนที่จะใชŒลอยเหนือดาวอังคารจึง ตŒองไดŒรับการออกแบบที่แตกต‹างจากบอลลูนทั่วไปเช‹น วัสดุที่ใชŒทํ าบอลลูนตŒองเบามาก และกาซที่ใชŒ บอลลูนตŒองขยายตัวไดŒเร็วมาก เปšนตŒน
ในป‚ พ.ศ. 2546 NASA มีโครงการจะปล†อยบอลลูนลอย สำรวจดาวอังคาร และในป‚ พ.ศ. 2557 เมื่อยานที่ NASA ส‹งไป สำรวจดาวพลูโตถึงดาวพลูโตดŒวยความเร็ว 19 กิโลเมตร/วินาที NASA จะปล†อย บอลลูนลอยผ‹านชั้นบรรยากาศของพลูโตอย‹างชŒาๆ จนถึงผิว สํ าหรับดวงจันทรที่ชื่อ Titan ของดาวเสาร ซึ่ง มีบรรยากาศหนาแน‹นมากนั้น ก็จะไดŒรับการสำรวจดŒวยบอลลูนเช‹นกัน
ยุคการสํารวจดาวเคราะหต‹างๆ ดŒวยบอลลูนไดŒเริ่มอย‹างจริงจังแลŒวครับ

ที่มา : ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)