ในป พ.ศ. 2344 G. Piazzi นักดาราศาสตรชาวอิตาลีไดเห็น
ดาวเคราะหขนาดเล็กมากดวงหนึ่งโคจรอยูระหวางดาวอังคารกับดาว
พฤหัสบดี ดาวดวงนี้มีเสนผาศูนยกลางยาวเพียง 960 กิโลเมตร
จากการที่มันมีขนาดเล็กกวาดาวเคราะหทั่วไปนี้เอง Piazzi จึงเรียก
ดาวประเภทนี้วา ดาวเคราะหนอย (asteroid)
ทุกวันนี้นักดาราศาสตรไดพบเห็นดาวเคราะหนอย ในสุริยจักรวาลรวมหมื่นดวงแลว
ถึงแมดาวเคราะหนอยจํ านวนมากจะโคจรหางจากดวงอาทิตยมากกวาดาวอังคารก็ตาม
แตจากการที่มันมีวงโคจรเปนวงรี ดาวเคราะหนอยบางดวง จึงมีโอกาสสูงในการโคจรเฉียดโลก หรือชนโลก
1997 XF11 เปนชื่อของดาวเคราะหนอยดวงหนึ่งที่ J. Scotti แหงมหาวิทยาลัย Arizona ในสหรัฐ
อเมริกาเปนผูพบ ดาวเคราะหนอยดวงนี้มีเสนผาศูนยกลางยาว 2 กิโลเมตร และเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.
2541 นักดาราศาสตรที่ทํ างานประจําอยูที่ Central Bureau for Astronomical Telegrams ที่เมือง
Cambridge ในสหรัฐอเมริกาไดสงขอมูลสูสื่อมวลชนวา ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2571 คืออีก 30 ปขาง
หนา 1997 XF11 จะโคจรผานโลกในระยะใกลเพียง 42,000 กิโลเมตรเทานั้นเอง ความ " ใกล" เชนนี้ ทํ า
ใหมันมีโอกาสชนโลกได
ความแตกตื่นโกลาหลก็ไดบังเกิดขึ้น เมื่อสื่อมวลชนทั่วโลกไดประโคมขาวนี้ เพราะคนหลายคนคิดวา
วันที่โลกาวินาศกําลังจะมาถึงในเร็ววันแลว แตเมื่อ E. Helen แหง NASA ไดวิเคราะหภาพถายของดาว
เคราะหนอยนี้อีก เพื่อคํ านวณหาวงโคจรที่แทจริงวา 1997 XF11 จะไมมีโอกาสชนโลกเลย เพราะในวัน
เวลาดังกลาว มันจะผาน "ใกล" โลกที่สุดที่ระยะ 960,000 กิโลเมตร
ความปนปวนที่เกิดขึ้นไดทําใหวงการดาราศาสตรหันมาทบทวน ลีลา และบทบาทของนักดาราศาสตร
ในการสงขาวและขอมูลวิทยาศาสตรใหสังคมทราบและก็ไดขอสรุปวา นักดาราศาสตรทุกคนควรจะไดรับขอ
สรุปวา นักดาราศาสตรทุกคน ควรจะไดรับขอมูลของดาวเคราะหนอยทุกดวงที่โคจรใกลโลก และเมื่อใดก็ตาม
ที่เห็นวา ขอมูลที่ไดกํ าลังชี้บอกอันตราย ที่จะเกิดตอโลกก็ใหรายงานตอนักดาราศาสตรดวยกันกอน เพื่อตรวจ
สอบจากนั้น เมื่อไดขอสรุปแลว จึงจะออกแถลงการณสูประชาชน
ถาดาวเคราะหนอยชนโลก จะเกิดอะไรขึ้น
นับตั้งแตโลกไดกําเนิดมาเมื่อ 4500 ลานปกอนนี้ โลกไดถูกอุกกาบาต