กลไกการทำงานของซีพียู
กลไกการทำงานของซีพียู
การ
ทำ
งาน
ของ
คอมพิวเตอร์
ใช้
หลัก
การ
เก็บ
คำ
สั่ง
ไว้
ที่
หน่วย
ความ
จำ ซี
พียูอ่าน
คำ
สั่ง
จาก
หน่วย
ความ
จำ
มา
แปล
ความ
หมาย
และ
กระ
ทำ
ตาม
เรียง
กัน
ไป
ที
ละ
คำ
สั่ง หน้า
ที่
หลัก
ของ
ซี
พียู คือ
ควบ
คุม
การ
ทำ
งาน
ของ
คอมพิวเตอร์
ทั้ง
ระบบ ตลอด
จน
ทำ
การ
ประมวล
ผล
กล
ไก
การ
ทำ
งาน
ของ
ซี
พียู
มี
ความ
สลับ
ซับ
ซ้อน ผู้
พัฒนา
ซี
พียูได้
สร้าง
กล
ไก
ให้
ทำ
งาน
ได้
ดี
ขึ้น โดย
แบ่ง
การ
ทำ
งาน
เป็น
ส่วน ๆ มี
การ
ทำ
งาน
แบบ
ขนาน และ
ทำ
งาน
เหลื่อม
กัน
เพื่อ
ให้
ทำ
งาน
ได้
เร็ว
ขึ้น
การ
พัฒนา
ซี
พีย
ู
ก้าว
หน้า
อย่าง
รวด
เร็ว และ
ถูก
พัฒนา
ให้
อยู่
ใน
รูป
ไมโคร
ชิบที่
เรียก
ว่า
ไมโคร
โพรเซสเซอร์ ไมโคร
โพรเซสเซอร์จึง
เป็น
หัว
ใจ
หลัก
ของ
ระบบ
คอมพิวเตอร์
ตั้ง
แต่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
ถึงไ
มโครคอมพิวเตอร์ ล้วน
แล้ว
แต่
ใช้
ไมโคร
ชิปเป็น
ซี
พียูหลัก ในเมนเฟรม
คอมพิวเตอร์ เช่น ES9000 ของ
บริษัท
ไอบีเอ็มก็
ใช้
ไมโคร
ชิปเป็น
ซี
พีย
ู แต่
อาจ
จะ
มี
มาก
กว่า
หนึ่ง
ชิปประกอบ
รวม
เป็น
ซี
พียู
เทคโนโลยี
ไมโคร
โพรเซสเซอร์ได้
พัฒนา
อย่าง
รวด
เร็ว โดย
เริ่ม
จาก
ปี พ.ศ
. 2518 บริษัทอินเทลได้
พัฒนา
ไมโคร
โพรเซสเซอร์ที่
เป็น
ที่
รู้
จัก
กัน
ดี
คือ ไมโคร
โพรเซสเซอร์เบอร์ 8080 ซึ่ง
เป็น
ซี
พียูขนาด 8 บิต ซี
พียูรุ่น
นี้
จะ
รับ
ข้อ
มูล
เข้า
มา
ประมวล
ผล
ด้วย
ตัว
เลข
ฐาน
สอง
ครั้ง
ละ 8 บิต และ
ทำ
งาน
ภาย
ใต้
ระบบปฎิบัติ
การ
ซี
พีเอ็ม (CP/M) ต่อ
มา
บริษัท
แอปเปิ้ลก็
เลือก
ซี
พีย
ู 6502 ของ
บริษัท
มอสเทคมา
ผลิต
เป็นเครื่องแอปเปิ้ลทู ได้
รับ
ความ
นิยม
เป็น
อย่าง
มาก
ใน
ยุค
นั้น
เครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์
ใน
ประเทศ
ไทย
ส่วน
มาก
เป็น
คอมพิวเตอร์
ที่
ใช้
ซี
พียูของ
ตระกูลอิ
นเทลที่
พัฒนา
มา
จาก 8088 8086 80286 80386 80486 และ
เพนเตี
ยม ตาม
ลำ
ดับ
การ
พัฒนา
ซี
พียูตระกูล
นี้
เริ่ม
จาก ซี
พียูเบอร์ 8088 ต่อ
มา
ประมาณ
ปี พ.ศ
. 2524 มี
การ
พัฒนา
เป็น
ซี
พียูแบบ 16 บิต ที่
มี
การ
รับ
ข้อ
มูล
จาก
ภาย
นอก
ที
ละ 8 บิต แต่
การ
ประมวล
ผล
บวก
ลบ
คูณ
หาร
ภาย
ใน
จะ
กระ
ทำ
ที
ละ 16 บิต บริษัท
ไอบีเอ็มเลือก
ซี
พียูตัว
นี้
เพราะ
อุปกรณ์
ประกอบ
อื่น ๆ ใน
สมัย
นั้น
ยัง
เป็น
ระบบ 8 บิต คอมพิวเตอร์
รุ่น
ซี
พียู 8088 แบบ 16 บิตนี้
เรียก
ว่า พี
ซี และ
เป็น
พี
ซี
รุ่น
แรก
ขีด
ความ
สามารถ
ของ
ซี
พียูที่
จะ
ต้อง
พิจารณา นอก
จาก
ขีด
ความ
สามารถ
ใน
การ
ประมวล
ผล
ภาย
ใน กา
รับ
ส่ง
ข้อ
มูล
ระหว่าง
ซี
พียูกับอุปกรณ์
ภาย
นอก
แล้ว ยัง
ต้อง
พิจารณา
ขีด
ความ
สามารถ
ใน
การ
เข้า
ไป
เขียน
อ่าน
ใน
หน่วย
ความ
จำ
ด้วย ซี
พียู 8088 สามารถ
เขียน
อ่าน
ใน
หน่วย
ความ
จำ
ได้
สูง
สุด
เพียง 1 เมกะไบต์ (ประมาณ
หนึ่ง
ล้านไบต์) ซึ่ง
ถือ
ว่า
มาก
ใน
ขณะ
นั้น
ความ
เร็ว
ของ
การ
ทำ
งาน
ของ
ซี
พียูขึ้น
อยู่กับการ
ให้
จังหวะ
ที่
เรียก
ว่า สัญญาณ
นาฬิกา
ซี
พีย
ู 8088 ถูก
กำหนด
จังหวะ
ด้วย
สัญญาณ
นาฬิกา
ที่
มี
ความ
เร็ว 4.77 ล้าน
รอบ
ใบ 1 วินาที
หรือ
ที่
เรียก
ว่า 4.77 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ซึ่ง
ปัจจุบัน
ถูก
พัฒนา
ให้
เร็ว
ขึ้น
เป็น
ลำ
ดับ
ไมโคร
คอมพิวเตอร์
รุ่น
พี
ซี
ได้
รับ
การ
พัฒนา
เพิ่ม
เติม
ฮาร์ดดิสก์ลง
ไป
และ
ปรับ
ปรุง
ซอฟต์แว
ร์ระบบ
และ
เรียก
ชื่อ
รุ่น
ว่า พี
ซี
เอ็กซ์ที (PC-XT)
ในพ.ศ
. 2527 ไอบีเอ็มเสนอ
ไมโคร
คอมพิวเตอร์
รุ่น
ใหม่
ที่
ทำ
งาน
ได้
ดี
กว่าเดิม โดย
ใช้
ชื่อ
รุ่น
ว่า พี
ซี
เอ
ที (PC-AT) คอมพิวเตอร์
รุ่น
นี้
ใช้
ซี
พียูเบอร์ 80286 ทำ
งาน
ที่
ความ
เร็ว
สูง
ขึ้น
คือ 6 เมกะเฮิรตซ์
การ
ทำ
งาน
ของ
ซี
พียู 80286 ดี
กว่าเดิมมาก เพราะ
รับ
ส่ง
ข้อ
มูลกับอุปกรณ์
ภาย
ใน
เป็น
แบบ 16 บิตเต็ม การ
ประมวล
ผล
ก็
เป็น
แบบ 16 บิต ทำ
งาน
ด้วย
ความ
เร็ว
ของ
จังหวะ
สัญญาณ
นาฬิกา
สูง
กว่า และ
ยัง
ติด
ต่อ
เขียน
อ่านกับหน่วย
ความ
จำ
ได้
มาก
กว่า คือ ติด
ต่อ
ได้
สูง
สุด 16 เมกะไบต
์ หรือ 16 เท่า
ของ
คอมพิวเตอร์
รุ่น
พี
ซี
พัฒนา
การ
ของเครื่องพี
ซี
เอ
ที
ทำ
ให้
ผู้
ผลิต
อื่น
ออก
แบบเครื่องคอมพิวเตอร์
ตาม
อย่าง
ไอบีเอ
็มโดย
เพิ่ม
ขีด
ความ
สามารถ
เฉพาะ
ของ
ตน
เอง
เข้า
ไป
อีก เช่น ใช้
สัญญาณ
นาฬิกา
สูง
เป็น 8 เมกะ
เฮ
ริตซ์ 10 เมกะเฮิรตซ์ จน
ถึง 16 เมกะเฮิรตซ์ ไมโคร
คอมพิวเตอร์
บน
ราก
ฐาน
ของ
พี
ซี
เอ
ที
จึง
มี
ผู้
ใช้
กัน
ทั่ว
โลก ยุค
นี้
จึง
เป็น
ยุค
ที่
ไมโคร
คอมพิวเตอร์
แพร่
หลาย
อย่าง
เต็ม
ที่
ในพ.ศ
. 2529 บริษัทอินเทลประกาศ
ตัว
ซี
พียูรุ่น
ใหม่ คือ 80386 หลาย
บริษัท
รวม
ทั้ง
บริษัท
ไอบีเอ็มเร่ง
พัฒนา
โดย
นำ
เอา
ซี
พีย
ู 80386 มา
เป็น
ซี
พียูหลัก
ของ
ระบบ ซี
พียู 80386 เพิ่ม
เติม
ขีด
ความ
สามารถ
อีก
มาก เช่น รับ
ส่ง
ข้อ
มูล
ครั้ง
ละ 32 บิต ประมวล
ผล
ครั้ง
ละ 32 บิต ติอต่อกับหน่วย
ความ
จำ
ได้
มาก
ถึง 4 จิกะไบต์ (1 จิกะไบต์เท่ากับ 1024 บ้านไบต์) จังหวะ
สัญญาณ
นาฬิกา
เพิ่ม
ได้
สูง
ถึง 33 เมกะเฮิรตซ์ ขีด
ความ
สามารถ
สูง
กว่า
พี
ซี
รุ่นเดิมมาก และ
ใน พ.ศ
. 2530 บริษัท
ไอบีเอ็มเริ่ม
ประกาศ
ขาย
ไมโคร
คอมพิวเตอร์
รุ่น
ใหม่
ที่
ชื่อ
ว่า พี
เอสทู (PS/2) โดย
มี
โครง
สร้าง
ทางฮาร์ดแวร์
ของ
ระบบ
แตก
ต่าง
ออก
ไป
โดย
เฉพาะ
ระบบ
เส้น
ทางส่ง
ถ่าย
ข้อ
มูล
ภาย
ใน (bus)
ผล
ปรากฎ
ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์
รุ่น 80386 ไม่
เป็น
ที่
นิยม
มาก
นัก ทั้ง
นี้
เพราะ
ยุค
เริ่ม
ต้น
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ 80386 มี
ราคา
แพง
มาก ดัง
นั้น
ในพ
.ศ.
2531 อินเทลต้อง
เอา
ใจ
ลูก
ค้า
ใน
กลุ่ม
เอ
ทีเดิ
ม คือ
ลด
ขีด
ความ
สามารถ
ของ 80386 ลง
ให้
เหลือ
เพียง 80386SX
ซี
พียู 80386SX ใช้กับโครง
สร้างเครื่องพี
ซี
เอ
ทีเดิมได้
พอ
ดี
โดย
แทบ
ไม่
ต้อง
ดัด
แปลง
อะไร ทั้ง
นี้
เพราะ
โครง
สร้าง
ภาย
ใน
ซี
พียูเป็น
แบบ 80386 แต่
โครง
สร้าง
การ
ติด
ต่อกับอุปกรณ์
ภาย
นอก
ใช้
เส้น
ทางเพียง
แค่ 16 บิต ไมโคร
คอมพิวเตอร์ 80386SX จึง
เป็น
ที่
นิยม
เพราะ
มี
ราคา
ถูก
และ
สามารถ
ทด
แทนเครื่องคอมพิวเตอร์
รุ่น
พี
ซี
เอ
ที
ได้
ซี
พียู 80486 เป็น
พัฒนา
การ
ของอินเทลใน พ.ศ
. 2532 และ
เริ่ม
ใช้กับเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์
ใน
ปี
ต่อ
มา ความ
จริง
แล้ว
ซี
พียู 80486 ไม่
มี
ข้อ
เด่น
อะไร
มาก
นัก เพียง
แต่
ใช้
เทคโนโลยี
การ
รวม
ชิ
ป 80387 เข้ากับซี
พียู 80386 ซึ่ง
ชิป 80387 เป็น
หน่วย
คำนวณ
ทางคณิต
ศาสตร์ และ
รวม
เอา
ส่วน
จัด
การ
หน่วย
ความ
จำ
เข้า
ไว้
ใน
ชิ
ป ทำ
ให้
การ
ทำ
งาน
โดย
รวม
รวด
เร็ว
ขึ้น
อีก
ในพ.ศ
. 2535 อินเทลได้
ผลิต
ซี
พียูตัว
ใหม่
ที่
มี
ขีด
ความ
สามารถ
สูง
ขึ้น ชื่อ
ว่า เพนเตี
ยม การ
ผลิต
ไมโคร
คอมพิวเตอร์
จึง
ได้
เปลี่ยน
มา
ใช้
ซี
พียูเพนเตี
ยม ซึ่ง
เป็น
ซี
พียูที่
มี
ขีด
ความ
สามารถ
เชิง
คำนวณ
สูง
กว่า
ซี
พีย
ู 80486 มี
ความ
ซับ
ซ้อน
กว่าเดิม และ
ใช้
ระบบ
การ
ส่ง
ถ่าย
ข้อ
มูล
ได้
ถึง 64 บิต
การ
พัฒนา
ทางด้าน
ซี
พียูเป็น
ไป
อย่าง
ต่อ
เนื่อง ไมโคร
โพรเซสเซอร์รุ่น
ใหม่
จะ
มี
โครง
สร้าง
ที่
ซับ
ซ้อน
ยิ่ง
ขึ้น ใช้
งาน
ได้
ดี
มาก
ขึ้น และ
จะ
เป็น
ซี
พียูใน
รุ่น
ที่ 6 ของ
บริษัทอินเทล โดย
มี
ชื่อ
ว่า เพนเตี
ยม
ทู
จัดทำโดย นางสาวพัฒนพร ตรีสูนย์ ชั้น ม.4/2 เลขที่ 47
เสนอ อาจารย์ สมปอง ตรุวรรณ วิชาคอมพิวเตอร์(ว0412)
แหล่งอ้างอิง : http://web.ku.ac.th/schoolnet/f-snet1.htm
โดย :
นางสาว พัฒนพร ตรีสูนย์, โรงเรียนนารีนุกูล, วันที่ 31 มกราคม 2546