ครกกระเดื่องและวัฒนธรรมตำข้าว

แบ่งเนื้อหาออกเป็นทั้งหมด 6 บท บทแรก วิถีความเป็นอยู่ของชาวอีสานกล่างถึงลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจของหมู่บ้าน สถาบันทางสังคม บทบาทของขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ค่านิยมของสังคมและการอบรมสั่งสอน บทที่ 2 วิวัฒนาการของครกกระเดื่องมีเนื้อหาเริ่มตั้งแต่รูปลักษณะของครกคือ วิธีตำข้าวด้วยครกมือลักษณะฃ่สวนประกอบและวิธีทำครกกระเดื่องหรือครกมอง บทที่ 3 อุปกรณ์ วิธีตำข้าวด้วยครกกระเดื่อง บทที่ 4 คตินิยม ความเชื่อเกี่ยวกับครกกระเดื่อง บทที่ 5 นวัตกรรมและเทคโนโลยีแทนการตำข้าวด้วยครกกระดื่อง ข้อเปรียบเทียบระหว่างสิ่งประดิษฐ์เก่ากับนวัตกรรมปัจจุบัน บทที่ 6 ประโยชน์ของครกกระเดื่อง บทประพันธ์ที่มีรกำเนิดมาจากเสียงครกกระเดื่องและท้ายบทภาคผนวกประกอบด้วย ฮีติบสองคลองสิบสี่ การนับเดือน และการแสดงชุดครกมองซึ่งประดษฐ์ท่ารำขึ้นโดยวิทยาลัยนาฏศิลป์กาฬสินธุ์ : อุทัยวรรณ ศิริเลิศ

ปราณี วงศ์ยะรา. ครกกระเดื่องและวัฒนธรรมตำข้าว. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2538. 68 หน้า


โดย : นาย rangsun sodsaithong, 4/3 Klonglaung Prathumtanee 13180, วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2545