ศิลปะเพื่อสังคม

พีระพงษ์ กุลพิศาล."ศิลปะเพื่อสังคม"ทีทัศน์วัฒนธรรม.2,3 (1 มกราคม2545-มิถุนายน 2545) : 39-41
คำว่าสังคมเป็นคำที่าื่อให้เข้าใจถึงความเป็นส่วนรวม ไม่ใช่ส่วนตัว ศิลปะกับสังคมอยู่ด้วยกันมาตลอดนานชั่วนานตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ ศิลปะจะหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะเฉพาะหรือแสดงลักษณะส่วนตัวของบุคคลคือเป็นผลที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์และประสบการณ์เฉพาะของแต่ละบุคคล เจตนาเบื้องต้นของการสร้างสรรค์ศิลปะเป็นไปเพื่อให้บุคคลอื่นรับรสหรือชื่นชมด้วยกัยทั้งสิ้น ศิลปะจะมีบทบาทเพื่อสังคมได้ก็ต่อเมื่อผลงานศิลปะอยู่ภายใต้เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ 1ศิลปะนั้นจะต้องมีอิทธิพลต่อความคิด ความรู้สึกหรือพฟติกรรมต่อผู้ชมเป็นจำนวนมาก 2ศิลปะนั้นจะต้องสร้างสรค์ขึ้นมาด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสาธารณชน 3 ศิลปะนั้นจะต้องแสดงหรือบรรยายสาระทางสังคมตมความเป็นจริงในขณะนั้น การสะท้อนสภาพทางสังคม เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของมนุษย์ในหลายๆทางกิจกรรมการสร้างสรรค์ศิลปะก็แสดงบทบาทหน้าที่นี้ได้ไม่น้อยไปกว่าสื่ออื่นๆ บทบาทดังกล่าวครอบครุมเนื่อหาสาระดังนี้ 1สะท้อนภาพทางการเมือง 2 สะท้อนภาพสังคมและชีวิตควมเป็นอยู่ 3 สะท้อนภาพเสียดสีสังคมหรือบุคคล


โดย : นางสาว kumrai rungsiyo, student 4/3 klongluang patumtani 13180, วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2545