กฏหมายน่ารู้

กฎหมายเบื้องต้น

โดย….นางเยาวเรศ รัตนะ ครู คศ 2 โรงเรียนทุ่งช้าง อ.ทุ่งช้าง จ. น่าน

มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มวิชากฏหมายน่ารู้

สาระ

มาตรฐาน

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐานที่ 2.1 ปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย

ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน

สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข

มาตรฐานที่ 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบันยึดมั่น

ศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองในรูปแบบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

 

 

คำอธิบายกลุ่มสาระเพิ่มเติมคนดีศรีสังคม

ศึกษาลักษณะคุณธรรมจริยธรรมและหลักปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ หน้าที่ และการอยู่ร่วมกันของบุคคลในสังคมตลอดจนคุณลักษณะที่พึงประสงค์รวมทั้งกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ทั้งในระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมายในชีวิประจำวัน เห็นความสำคัญของกฎหมายในฐานะเป็นกติกาของสังคม และปฏิบัติตนตามกฎหมายในฐานะสมาชิที่ดีของสังคม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

  1. บอกที่มาและความสำคัญของกฎหมายในฐานที่เป็นกติกาของสังคมมนุษย์
  2. ตระหนักและเห็นความสำคัญของกฎหมายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน สามารถปฏิบัติและแนะนำผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
  3. อธิบายเกี่ยวกับกฎหมายครอบครัว มรดก และทรัพย์สิน และสามารถนำไปใช้และแนะนำผู้อื่นได้ถูกต้อง
  4. เห็นความสำคัญของกฎหมายแพ่ง สามารถปฏิบัติตนและแนะนำผู้อื่นให้ปฏิบัติตนถูกต้องตามกฎหมายแพ่งในฐานะสมาชิที่ดีของสังคม
  5. สามารถบอกหลักกฎหมายอาญา และวิเคราะห์ความแตกต่างของโทษทางอาญาได้ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายอาญาในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม
  6. อธิบายกฎหมายเกี่ยวกับชุมชนและสังคม เห็นความสำคัญและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
  7. มีความรู้ความเข้าใจรัฐธรรมนูญไทยสามาถนำความรู้พื้นฐานไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้ สาระเพิ่มเติม กฏหมายน่ารู้

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

จำนวนชั่วโมง

1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

  • กฏหมายที่ควรรู้

  • ความหมายของกฎหมาย
  • ที่มาของกฎหมาย
  • ความแตกต่างของกฎหมาย ศาสนา ศีลธรรม

และจารีตประเพณี

  • ที่มาของกฎหมายไทย
  • ความสำคัญของกฎหมาย

กฎหมายเด็กและเยาวชน

  • กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของเด็กและเยาวชน
  • กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดชอบของเด็กตามกฎหมายอาญา
  • กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดชอบของเด็กตามกฎหมายแพ่ง
  • กฎหมายเกี่ยวกับการประถมศึกษา

กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว มรดก และทรัพย์สิน

  • กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว
  • กฎหมายเกี่ยวกับมรดก
  • กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน

กฎหมายแพ่ง

  • ความหมาย
  • สัญญากู้เงิน
  • สัญญาซื้อขาย
  • สัญญาขายฝาก
  • สัญญาเช่าทรัพย์
  • สัญญาเช่าซื้อ

2

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

6

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

จำนวนชั่วโมง

5

 

 

 

 

 

 

6.

 

 

 

 

 

 

7

 

 

 

8

 

 

 

 

 

 

 

อาญาน่ารู้

  • ความหมาย
  • โทษทางอาญา
  • ผู้กระทำความผิดทางอาญา
  • การกระทำผิดทางอาญา
  • การรับโทษทางอาญา

ความผิดประเภทต่างๆ

กฎหมายชุมชนและสังคม

  • กฎหมายทะเบียนราษฎร
  • กฎหมายว่าด้วยบัตรประจำตัวประชาชน
  • กฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก
  • กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ
  • กฎหมายป่าไม้
  • กฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองประเทศ

  • รัฐธรรมนูญ
  • กฎหมายว่าด้วยพรรกการเมือง
  • กฎหมายการเลือกตั้ง
  • กฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน

กระบวนยุติธรรมและขั้นตอนการดำเนินคดี

    • ศาลยุติธรรม
    • กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
    • ขั้นตอนการขึ้นศาล
    • พิธีพิจารณาในชั้นศาล
    • กระบวนการพิจารณาทางแพ่ง
    • การพิจารณาคดีแพ่ง

 

6

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

4

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

กลุ่มสาระเพิ่ม กฎหมายน่ารู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2548

เรื่อง ที่มาของกฎหมาย เวลา 2 คาบ

***********************************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้

ปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

    1. มีความรู้ความเข้าใจที่มาและความสำคัญของกฎหมายในฐานที่เป็นกติกาของสังคมมนุษย์

- บอกความหมาย ระบุที่มา และวิเคราะห์ความสำคัญของกฎหมายได้

- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกฎหมายกับศาสนา ศีลธรรม และจรีตประเพณีได้

- ระบุที่มาของกฎหมายไทยได้

สาระการเรียนรู้

- ที่มาของกฎหมาย

    • ความหมายของกฎหมาย
    • ที่มาของกฎหมาย
    • ความแตกต่างของกฎหมาย ศาสนา ศีลธรรม และจารีตประเพณี
    • ที่มาของกฎหมายไทย
    • ความสำคัญของกฎหมาย

กิจกรรมการเรียนการสอน

ชั่วโมงที่ 1 – 3

    1. แจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    2. ให้นักเรียนอภิปรายว่านักเรียนไม่ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคมของโรงเรียนแล้วจะเกิดผลเสียหายแก่โรงเรียนและนักเรียนอย่างไร ใช้เวลาอภิปราย 5 – 10 นาที
    3.  

    4. ให้นักเรียนช่วยกันเขียนระเบียบข้อบังคับในห้องเรียนของนักเรียนว่าควรจะมีอะไรบ้างหากผู้ใดฝ่าฝืนควรมีบทลงโทษอย่างไรหรือไม่ ความยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ
    5. ให้นักเรียนอภิปรายในหัวข้อเรื่องที่ว่า ผู้ใดฝ่าฝืนกฎหมายควรต้องได้รับโทษอย่างไร
    6. เชิญวิทยากรที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายโดยตรงมาบรรยายให้ความรู้ เช่น ตำรวจ ทนายความ สารวัตรนักเรียน ผู้พิพากษา รวมทั้งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ของนักเรียนด้วย
    7. พานักเรียนศึกษาสถานที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎหมาย เช่น สถานีตำรวจ ศาลจังหวัด ศาลแขวง ศาลเด็กและเยาวชน
    8. นักเรียนอภิปรายเรื่องผลดีของการปฏิบัติตามกฎหมาย
    9. นักเรียนทำใบกิจกรรม

 

สื่อ / อุปกรณ์การเรียน

    1. ระเบียบข้อบังคับโรงเรียน
    2. การอภิปราย
    3. วิทยากร
    4. สถานที่ต่าง ๆ
    5. รูปภาพถ่าย สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
    6. ใบงาน ใบกิจกรรม

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการประเมินผล

    1. ตรวจใบงาน
    2. วัดความสนใจ
    3. การเสนองานและการอภิปราย

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

    1. แบบประเมินใบงาน
    2. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
    3. แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม

 

 

เกณฑ์ในการวัดผลประเมินผล

    1. ใบงาน ใบความรู้ผ่าน 80 %
    2. พฤติกรรมกลุ่ม

    1. = ดีมาก

    1. = ดี

    1. = ผ่าน

    1. = ปรับปรุง

3. นำเสนอผลงานถูกต้องร้อยละ 80 % = ผ่านเกณฑ์

แหล่งการเรียนรู้

    1. ห้องสมุดโรงเรียน
    2. ห้องสมุดหมวดวิชา
    3. ห้องสมุดประชาชน
    4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย
    5. สถานที่สำคัญทางกฎหมาย
    6. เอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
    7. สิ่งตีพิมพ์ วารสาร เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

กลุ่มสาระเพิ่ม กฎหมายน่ารู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2548

เรื่อง กฎหมายเด็กและเยาวชน เวลา 6 คาบ

***********************************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้

ปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

มีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของกฏหมายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน สามารถปฏิบัติและแนะนำผู้อื่นไดอย่างถูกต้อง

สาระการเรียนรู้

กฎหมายเด็กและเยาวชน

    • กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของเด็กและเยาวชน
    • กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดชอบของเด็กตามกฎหมายอาญา
    • กฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดชอบของเด็กตามกฎหมายแพ่ง
    • กฎหมายเกี่ยวกับการประถมศึกษา

กิจกรรมการเรียนการสอน

ชั่วโมงที่ 1-3

    1. แจ้งผลการเรียนที่คาดหวัง
    2. ให้นักเรียนทำรายงานเกี่ยวกับกรณีต่างๆทางกฎหมายที่นักเรียนได้ทำเองในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยไม่ต้องขอความยินยอมจากบิดามารดาของนักเรียน ความยาวไม่เกิน 10 บรรทัด
    3. จัดแบ่งกลุ่มอภิปายเรื่องผลดีของการที่ผู้เยาว์ได้รับความยินยอมจากบิดามารดา ผู้แทนโดยชอบธรรม ให้ทำนิติกรรม
    4. จัดอภิปรายเรื่อง ความรับผิดชอบของเด็กในทางแพ่งกับทางอาญานั้นอย่างใดหนักกว่ากัน
    5. เชิญวิทยาการบรรยายให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับความรับผิดชอบทางแพ่งและอาญาของผู้เยาว์

ชั่วโมงที่ 4 – 6

    1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 5 – 6 คน ครูนำบทบาทสมมุติอันเป็นการกระทำเกี่ยวกับนิติกรรมผู้เยาว์สามารถกระทำได้ด้วยคนเอง และนิติกรรมบางอย่างที่ผู้เยาว์ไม่สามารถกระทำได้เพียงคนเดียว โดยทำการแสดงบทบาทหลายๆเรื่องจับกลุ่มละ 2 เรื่อง ให้นักเรียนคิดหาเหตุผลว่าเรื่องที่นักเรียนจับฉลากได้นั้น ผู้เยาว์สามารถกระทำนิติกรรมได้หรือเปล่า มีเหตุผลอย่างไร เมื่อแต่ละกลุ่มอภิปรายเป็นเอกฉันท์แล้ว ให้ตัวแทนกลุ่มออกไปรายงายหน้าห้องเรียน โดยมีครูและนักเรียนร่วมกันเฉลย
    2. ให้นักเรียนตัดข่าวจากหนังสือพิมพ์ ในเรื่องที่เกี่ยวกับผู้เยาว์แล้วให้นักเรียนนำเสนอหน้าชั้นเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของข่าวและสิ่งที่กี่ยวข้องกับผู้เยาว์ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
    3. นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องความสามารถของผู้เยาว์
    4. ทำใบงานเรื่องความสามารถของผู้เยาว์
    5. ร่วมกันอภิปรายสรุป

สื่อ / อุปกรณ์การเรียน

    1. ระเบียบข้อบังคับโรงเรียน
    2. การอภิปราย
    3. วิทยากร
    4. สถานที่ต่าง ๆ
    5. รูปภาพถ่าย สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
    6. ใบงาน ใบกิจกรรม

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการประเมินผล

    1. ตรวจใบงาน
    2. วัดความสนใจ
    3. การเสนองานและการอภิปราย

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

    1. แบบประเมินใบงาน
    2. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
    3. แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม

เกณฑ์ในการวัดผลประเมินผล

    1. ใบงาน ใบความรู้ผ่าน 80 %
    2. พฤติกรรมกลุ่ม

    1. = ดีมาก

    1. = ดี

    1. = ผ่าน

    1. = ปรับปรุง

3. นำเสนอผลงานถูกต้องร้อยละ 80 % = ผ่านเกณฑ์

แหล่งการเรียนรู้

    1. ห้องสมุดโรงเรียน
    2. ห้องสมุดหมวดวิชา
    3. ห้องสมุดประชาชน
    4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย
    5. สถานที่สำคัญทางกฎหมาย
    6. เอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
    7. สิ่งตีพิมพ์ วารสาร เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

กลุ่มสาระเพิ่ม กฎหมายน่ารู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2548

เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว มรดก ทรัพย์สิน เวลา 5 คาบ

***********************************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้

    1. ปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
    2. เข้าใจระบบการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบันยึดมั่นศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายครอบครัว มรดก และทรัพย์สิน สามารถนำไปใช้และแนะนำผู้อื่นได้ถูกต้อง

สาระการเรียนรู้

กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว มรดก และทรัพย์สิน

    • กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว
    • กฎหมายเกี่ยวกับมรดก
    • กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน

กิจกรรมเรียนเรียนการสอน

ชั่วโมงที่ 1 – 3

    1. แจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทำรายงานค้นคว้า ในหัวข้อการหมั้น การสมรส ทรัพย์สินระหว่างสามาภริยา ฯลฯ
    3. อภิปรายเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว มรดก และทรัพย์สินระหว่างนักเรียนและครู
    4. ศึกษาใบความรู้เรื่องมรดก ทำใบงาน
    5. ร่วมกันสรุปใบความรู้ใบงาน
    6. เชิญวิทยากรบรรยายเรื่องเกี่ยวกับ การจดทะเบียนเกี่ยวกับทรัพย์สิน

 

ชั่วโมงที่ 4- 5

    1. อภิปรายเรื่องผลดีของการจดทะเบียนสมรส
    2. นักเรียนเปรียบเทียบระหว่างการแต่งงานโดยหมั้นและการแต่งงานโดยไม่ได้หมั้น
    3. แบ่งกลุ่มอภิปรายหน้าที่ที่ บิดามารดาพึ่งมีต่อบุตรและบุตรธิดาพึงมีต่อบิดามารดา
    4. ให้นักเรียนยค้นคว้าเกี่ยวกับคำพิพากษาศาลฎีกาในการตัดสินคดีความเรื่องมรดกและครอบครัวร่วมกันวิเคราะห์
    5. แข่งขันการตอบปัญหากฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว มรดก และทรัพย์สิน

6. ทำใบงานเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว มรดก และทรัพย์สิน แล้วร่วมกันสรุป

สื่อ / อุปกรณ์การเรียน

    1. กฎหมายมรดก ครอบครัว ทรัพย์สิน
    2. การอภิปราย
    3. แบบจำลองทะเบียนสมรส ใบหย่า
    4. สถานที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    5. รูปภาพถ่าย กิจกรรมเกี่ยวกับครอบครัว การแต่งงาน
    6. ใบงาน ใบกิจกรรม

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการประเมินผล

    1. ตรวจใบงาน
    2. วัดความสนใจ
    3. การเสนองานและการอภิปราย

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

    1. แบบประเมินใบงาน
    2. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
    3. แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม

 

 

 

 

เกณฑ์ในการวัดผลประเมินผล

    1. ใบงาน ใบความรู้ผ่าน 80 %
    2. พฤติกรรมกลุ่ม

4= ดีมาก

3= ดี

2= ผ่าน

1= ปรับปรุง

3. นำเสนอผลงานถูกต้องร้อยละ 80 % = ผ่านเกณฑ์

แหล่งการเรียนรู้

    1. ห้องสมุดโรงเรียน
    2. ห้องสมุดหมวดวิชา
    3. ห้องสมุดประชาชน
    4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย
    5. สถานที่สำคัญทางกฎหมาย
    6. เอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
    7. สิ่งตีพิมพ์ วารสาร เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

กลุ่มสาระเพิ่ม กฎหมายน่ารู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2548

เรื่อง กฎหมายแพ่ง เวลา 6 คาบ

***********************************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้

    1. ปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
    2. เข้าใจระบบการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบันยึดมั่นศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เห็นความสำคัญของกฎหมายแพ่ง สามารถปฏิบัติตนและแนะนำผู้อื่นให้ปฏิบัติตนถูกต้องตามกฎหมายแพ่งในฐานะสมาชิที่ดีของสังคม

สาระการเรียนรู้

กฎหมายแพ่ง

    • ความหมาย
    • สัญญากู้เงิน
    • สัญญาซื้อขาย
    • สัญญาขายฝาก
    • สัญญาเช่าทรัพย์
    • สัญญาเช่าซื้อ

กิจกรรมการเรียนการสอน

ชั่วโมงที่ 1- 3

    1. แจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    2. ให้นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับสัญญาตามกฎหมายแพ่ง เช่น การกู้ยืมเงิน
    3. ให้นักเรียนตัดข่างจากหนังสื่อพิมพ์หรือแหล่งเรียนรู้อื่นที่เกี่ยวข้องกับข่าวธุรกิจ การเงิน และเศรษฐกิจ แล้วนำมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน
    4. เชิญวิทยากรเกี่ยวกับกฎหมายแพ่งมาบรรยายให้ความรู้
    5. นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องกฎหมายแพ่งในชีวิตประจำวัน
    6. นักเรียนทำใบงาน
    7. ร่วมกันสรุป นักเรียนจดประเด็นสำคัญลงในสมุด

ชั่วโมงที่ 4 – 6

    1. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ5 – 6 คน ช่วยกันกรอกข้อความในสัญญาการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ตามแบตัวอย่าง
    2. ร่วมกันอภิปรายกันว่า “การเช่าซื้อมีผลดีหรือไม่ดีต่อผู้เช่าซื้อและผู้ให้เช่าซื้ออย่างไร”
    3. ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่องการกู้ยืมเงินและทดลองทำสัญญาการก็ยืมเงิน
    4. ศึกษาใบความรู้เรื่องการเช่าซื้อและการกู้เงิน แล้วทำใบกิจกรรม
    5. ร่วมกันสรุปประเด็นสำคัญ

สื่อ / อุปกรณ์การเรียน

    1. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
    2. การอภิปราย
    3. ตัวอย่างสัญญาการกู้ยืมเงิน สัญญาทางการแพ่งต่างๆ
    4. สถานที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    5. รูปภาพถ่าย ภาพจากหนังสือพิมพ์และวารสารต่างๆ
    6. ใบงาน ใบกิจกรรม

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการประเมินผล

    1. ตรวจใบงาน
    2. วัดความสนใจ
    3. การเสนองานและการอภิปราย

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

    1. แบบประเมินใบงาน
    2. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
    3. แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม

 

 

เกณฑ์ในการวัดผลประเมินผล

    1. ใบงาน ใบความรู้ผ่าน 80 %
    2. พฤติกรรมกลุ่ม

4= ดีมาก

3= ดี

2= ผ่าน

1= ปรับปรุง

3. นำเสนอผลงานถูกต้องร้อยละ 80 % = ผ่านเกณฑ์

แหล่งการเรียนรู้

    1. ห้องสมุดโรงเรียน
    2. ห้องสมุดหมวดวิชา
    3. ห้องสมุดประชาชน
    4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย
    5. สถานที่สำคัญทางกฎหมาย
    6. เอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
    7. สิ่งตีพิมพ์ วารสาร เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

กลุ่มสาระเพิ่ม กฎหมายน่ารู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2548

เรื่อง อาญาน่ารู้ เวลา 6 คาบ

***********************************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้

    1. ปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
    2. เข้าใจระบบการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบันยึดมั่นศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เข้าใจหลักกฎหมายอาญา และวิเคราะห์ความแตกต่างของโทษทางอาญาได้ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายอาญาในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม

สาระการเรียนรู้

อาญาน่ารู้

    • ความหมาย
    • โทษทางอาญา
    • ผู้กระทำความผิดทางอาญา
    • การกระทำผิดทางอาญา
    • การรับโทษทางอาญา
    • ความผิดประเภทต่างๆ

กิจกรรมการเรียนการสอน

ชั่วโมงที่ 1 – 3

    1. แจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    2. ทางโรงเรียนเชิญตำรวจมาบรรยายเรื่อง การกระผิดทางอาญาต่างๆและผลที่ได้รับ
    3. ให้นักเรียนตัดข่าวจากหนังสืพิมพ์แล้ววิเคราะห์สาเหตผลที่ได้รับร่วมกันอภิปราย
    4. ศึกษาใบงานเรื่อง กฎหมายอาญาในชีวิตประจำวัน
    5. ทำใบงาน
    6. ร่วมกันสรุปประเด็นสำคัญ

ชั่วโมงที่ 4 – 6

    1. เปรียบเทียบโทษที่ได้รับทางอาญากับโทษที่ได้รับทางแพ่ง
    2. ศึกษาใบความรู้เรื่องโทษทางอาญา
    3. ครูนักเรียนร่วมกันสรุป
    4. นักเรียนตัดข่าวจากหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับข่าวอาชญากรรม แล้วมาอภิปรายหน้าชั้นเรียนว่าเป็นความผิดทางอาญาฐานใด เพราะเหตุใด
    5. ให้นักเรียนค้นคว้าคำพิพากษาศาลฎีกาในคดีเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนร่วมกันสรุป
    6. ศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับ เยาวชนกับความผิดทางอาญา
    7. ร่วมกันสรุปทำใบงาน
    8. จดประเด็นสำคัญลงในสมุด

สื่อ / อุปกรณ์การเรียน

    1. กฎหมายอาญา
    2. คำพิพากษาของศาลที่เกี่ยวข้องกับคดีอาญา
    3. ข่าวคดีอาญา
    4. สถานที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคดีและการตัดสินความคดี
    5. รูปภาพถ่าย ภาพจากหนังสือพิมพ์
    6. ใบงาน ใบกิจกรรม

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการประเมินผล

    1. ตรวจใบงาน
    2. วัดความสนใจ
    3. การเสนองานและการอภิปราย

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

    1. แบบประเมินใบงาน
    2. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
    3. แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม

 

 

เกณฑ์ในการวัดผลประเมินผล

    1. ใบงาน ใบความรู้ผ่าน 80 %
    2. พฤติกรรมกลุ่ม

4= ดีมาก

3= ดี

2= ผ่าน

1= ปรับปรุง

3. นำเสนอผลงานถูกต้องร้อยละ 80 % = ผ่านเกณฑ์

แหล่งการเรียนรู้

    1. ห้องสมุดโรงเรียน
    2. ห้องสมุดหมวดวิชา
    3. ห้องสมุดประชาชน
    4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย
    5. สถานที่สำคัญทางกฎหมาย
    6. เอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
    7. สิ่งตีพิมพ์ วารสาร เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

กลุ่มสาระเพิ่ม กฎหมายน่ารู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2548

เรื่อง กฎหมายชุมชนและสังคม เวลา 6 คาบ

***********************************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้

    1. ปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
    2. เข้าใจระบบการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบันยึดมั่นศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เข้าใจในเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับชุมชนและสังคม เห็นความสำคัญและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

สาระการเรียนรู้

กฎหมายชุมชนและสังคม

    • กฎหมายทะเบียนราษฎร
    • กฎหมายว่าด้วยบัตรประจำตัวประชาชน
    • กฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก
    • กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ
    • กฎหมายป่าไม้
    • กฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

กิจกรรมการเรียนการสอน

ชั่วโมงที่ 1- 3

    1. แจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    2. เชิญวิทากรที่มีความรู้เรื่องการจราจรบรรยายนักเรียนทำรายงานส่งครู
    3. ร่วมกันอภิปรายเรื่องกฎหมายยาเสพติดให้โทษ นักนักเรียนศึกษาวีดีทัศน์เรื่องกฎหมายยาเสพติด
    4. แข่งขันกันตอบปัญหายาเสพติดในห้องเรียน
    5. เขียนเรียงความเรื่องโทษของยาเสพติดต่อร่างกายและโทษที่ได้รับทางกฎหมาย
    6. ให้นักเรียนตัดข่าวเกี่ยวกับการกระผิดต่อกฎหมายว่าด้วยการจราจร กฎหมายว่าด้วยยาเสพติด กฎหมายว่าด้วยสาระเหย รายางานหน้าชั้นเรียน
    7. ร่วมกันสรุป ทำใบงาน ศึกษาจากใบความรู้

ชั่วโมงที่ 4 – 6

    1. เชิญเจ้าหน้าที่ป่าไม้บรรยายเรื่องกฎหมายป่าไม้ นักเรียนทำรายงานส่งครู
    2. เขียนเรียงความเรื่องป่ากับชีวิต เสนองานหน้าชั้นเรียน
    3. ครูให้นักเรียนดูวีดีทัศน์เรื่องกฎหมายป่าและสัตว์ป่าคุ้มครอง นักเรียนแสดงความคิดเห็น ร่วมกันสรุป
    4. ร่วมอภิปรายถึงบทลงโทษของการฝ่าฝืนในกฎหมายว่าด้วยป่าไม้
    5. นักเรียนหาภาพเกี่ยวกับสัตว์ป่าสงวนพร้อมคำบรรยายจัดป้ายนิเทศ
    6. ทำใบงานเรื่องกฎหมายป่าและสัตว์ป่าคุ้มครอง
    7. ร่วมกันสรุป จับประเด็นสำคัญนักเรียนจดบันทึก

สื่อ / อุปกรณ์การเรียน

    1. กฎหมายป่าไม้ และกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า
    2. การอภิปราย
    3. รูปภาพยาเสพติดให้โทษประเภทต่างๆ
    4. วิทยากร
    5. สถานที่ต่าง ๆ
    6. รูปภาพถ่ายสัตว์ป่าคุ้มครองและสงวน
    7. ใบงาน ใบกิจกรรม

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการประเมินผล

    1. ตรวจใบงาน
    2. วัดความสนใจ
    3. การเสนองานและการอภิปราย

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

    1. แบบประเมินใบงาน
    2. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
    3. แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม

เกณฑ์ในการวัดผลประเมินผล

    1. ใบงาน ใบความรู้ผ่าน 80 %
    2. พฤติกรรมกลุ่ม

4= ดีมาก

3= ดี

2= ผ่าน

1= ปรับปรุง

3. นำเสนอผลงานถูกต้องร้อยละ 80 % = ผ่านเกณฑ์

แหล่งการเรียนรู้

    1. ห้องสมุดโรงเรียน
    2. ห้องสมุดหมวดวิชา
    3. ห้องสมุดประชาชน
    4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย
    5. สถานที่สำคัญทางกฎหมาย
    6. เอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
    7. สิ่งตีพิมพ์ วารสาร เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7

กลุ่มสาระเพิ่ม กฎหมายน่ารู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2548

เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองประเทศ เวลา 4 คาบ

***********************************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้

    1. ปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
    2. เข้าใจระบบการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบันยึดมั่นศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

มีความรู้ความเข้าใจรัฐธรรมนูญไทยสามาถนำความรู้พื้นฐานไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

สาระการเรียนรู้

กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองประเทศ

    • รัฐธรรมนูญ
    • กฎหมายว่าด้วยพรรกการเมือง
    • กฎหมายการเลือกตั้ง
    • กฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน

กิจกรรมการเรียนการสอน

ชั่วโมงที่ 1 – 4

    1. แจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    2. นักเรียนแบ่งกลุ่มอภิปรายกันว่าเรื่องความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
    3. ให้นักเรียนร่วมกันค้นคว้าประวัติของรัฐธรรมนูญว่าตั้งแต่เปลี่ยนการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญมาแล้วกี่ฉบับ
    4. ให้นักเรียนจัดอภิปรายเกี่ยวการเมืองพรรคการเมืองการเลือกตั้ง ร่วมกันสรุปประเด็นสำคัญ
    5. เชิญบุคคลในท้องถิ่นซึ่งเคยดำรงตำแหน่งทางการเมืองบรรยายเรื่องบทบาทและหน้าที่ของสมาชิกสภาทางการเมือง
    6. จัดอภิปรายเรื่องประชาชนกับการมีส่วนร่วมในการปกครองระบบประชาธิปไตย
    7. ศึกษาใบความรู้เรื่องระเบียบการบริหารราชการไทย
    8. ทำใบกิจกรรม ร่วมกันสรุปประเด็นสำคัญ

สื่อ / อุปกรณ์การเรียน

    1. รัฐธรรมนูญ
    2. กฎหมายเลือกตั้ง วิธีการเลือกตั้ง (แผนผังการใช้สิทธิ)
    3. การอภิปราย
    4. วิทยากร
    5. สถานที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    6. แผนผังการจักระเบียบบิหารแผ่นดิน
    7. ใบกิจกรรม

 

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการประเมินผล

    1. ตรวจใบงาน
    2. วัดความสนใจ
    3. การเสนองานและการอภิปราย

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

    1. แบบประเมินใบงาน
    2. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
    3. แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม

เกณฑ์ในการวัดผลประเมินผล

    1. ใบงาน ใบความรู้ผ่าน 80 %
    2. พฤติกรรมกลุ่ม

4= ดีมาก

3= ดี

2= ผ่าน

1= ปรับปรุง

3. นำเสนอผลงานถูกต้องร้อยละ 80 % = ผ่านเกณฑ์

แหล่งการเรียนรู้

    1. ห้องสมุดโรงเรียน
    2. ห้องสมุดหมวดวิชา
    3. ห้องสมุดประชาชน
    4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย
    5. สถานที่สำคัญทางกฎหมาย
    6. เอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
    7. สิ่งตีพิมพ์ วารสาร เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8

กลุ่มสาระเพิ่ม กฎหมายน่ารู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2548

เรื่อง กระบวนยุติธรรมและขั้นตอนการดำเนินคดี เวลา 4 คาบ

***********************************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้

    1. ปฏิบัติตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีตามกฎหมาย ประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
    2. เข้าใจระบบการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบันยึดมั่นศรัทธาและธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการยุติธรรม และขั้นตอนการดำเนินคดี สามารถนำความรู้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

สาระการเรียนรู้

กระบวนยุติธรรมและขั้นตอนการดำเนินคดี

    • ศาลยุติธรรม
    • กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
    • ขั้นตอนการขึ้นศาล
    • พิธีพิจารณาในชั้นศาล
    • กระบวนการพิจารณาทางแพ่ง
    • การพิจารณาคดีแพ่ง

กิจกรรมการเรียนการสอน

ชั่วโมงที่ 1 – 4

    1. แจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    2. เชิญผู้มีความรู้บรรยายเรื่องกระบวนการยุติธรรมไทย
    3. พานักเรียนศึกษานอกสถานที่ชมสถานที่พิจารณาคดีในชั้นศาล
    4. ชมวีดีทัศน์การจำลองการตัดสินคดีความในชั้นศาล
    5. แข่งขันการตอบปัญหาเกี่ยวกระบวนการยุติธรรม และขั้นตอนการพิจารณาคดี
    6. แบ่งกลุ่มนักเรียนแสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับการพิจารณาคดี
    7. ร่วมกันสรุป

สื่อ / อุปกรณ์การเรียน

    1. ขั้นตอนการพิจารณาคดีความ
    2. การอภิปราย
    3. วิทยากร
    4. สถานที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
    5. รูปภาพถ่าย สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
    6. วีดีทัศน์
    7. ใบงาน ใบกิจกรรม

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการประเมินผล

    1. ตรวจใบงาน
    2. วัดความสนใจ
    3. การเสนองานและการอภิปราย

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

    1. แบบประเมินใบงาน
    2. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
    3. แบบสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม

เกณฑ์ในการวัดผลประเมินผล

    1. ใบงาน ใบความรู้ผ่าน 80 %
    2. พฤติกรรมกลุ่ม

4= ดีมาก

3= ดี

2= ผ่าน

1= ปรับปรุง

3. นำเสนอผลงานถูกต้องร้อยละ 80 % = ผ่านเกณฑ์

 

 

แหล่งการเรียนรู้

    1. ห้องสมุดโรงเรียน
    2. ห้องสมุดหมวดวิชา
    3. ห้องสมุดประชาชน
    4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย
    5. สถานที่สำคัญทางกฎหมาย
    6. เอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ประมวลกฎหมาย รัฐธรรมนูญ
    7. สิ่งตีพิมพ์ วารสาร เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ใบงานที่…..

เรื่อง ชื่อ

  1. การมีชื่อจริงที่แน่นอน ก่อประโยชน์ด้านใดบ้าง ให้ยกตัวอย่างที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวัน

  1. ……………………………………………………………………………………………………
  2. ……………………………………………………………………………………………………
  3. ……………………………………………………………………………………………………

  1. ถึงแม้คนไทยจะไม่นิยมตั้งชื่อรองอย่างเป็นทางการ เรานิยมตั้งชื่อเล่น เช่น แดง ดำ แก้ว อ๋อย เป็นต้น เพื่อประโยชน์ทางด้านใด

  1. ……………………………………………………………………………………………………
  2. ……………………………………………………………………………………………………
  3. ……………………………………………………………………………………………………

  1. นักเรียนคิดว่า ชื่อสกุลมีความสำคัญอย่างไรกับครอบครัวของตนเองและตัวนักเรียนเอง
  2. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ให้นักเรียนกรกรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อของนักเรียนเอง

    1. ชื่อ………………………………………………………………………………………………..
    2. ผู้ตั้ง………………………………………………………………………………………………
    3. ความหมาย……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………
    4. ความรู้สึกเกี่ยวกับชื่อของนักเรียน……………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………
    5. ชื่อสกุล……………………………………………………………………………………………
    6. ผู้ตั้ง………………………………………………………………………………………………
    7. ความหมาย………………………………………………………………………………………
    8. ความรู้สึกเกี่ยวกับชื่อสกุลของนักเรียน………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ …

เรื่อง การสังเกตการณ์

  1. ให้นักเรียนไปสังเกตการณ์ หรือถามเจ้าหน้าที่ทะเบียน ( ณ ที่ว่าการอำเภอ หรือแผนกปกครองอำเภอ หรือพนังงานเทศบาลที่นักเรียนพำนักอยู่ ) เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติและขั้นตอนการขอมีบัตรประจำตัวประชาชน แล้วเขียนสรุปดังนี้
  2. ขั้นตอนที่1. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    ขั้นตอนที่ 2

    ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    ขั้นตอนที่ 3

    ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    ขั้นตอนที่ 4

    ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    ขั้นตอนที่ 5

    ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    ขั้นตอนที่ 6

    ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  3. หลักฐานที่ต้องนำไปด้วย คือ
  4. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    ใบงานที่ ……

    เรื่อง ผู้เยาว์

    1. ผู้เยาว์ หมายถึง ……………………………………………………………………………………….

    …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………..

    2. เพราะเหตุใดนักเรียนจึงยังทำนิติกรรมบางอย่างไม่ได้หากปราศจากการยินยอมจากผู้ปกครอง

    ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  5. ผู้แทนโดยชอบธรรมหมายถึงบุคคลใดบ้าง และมีความสำคัญทางนิติกรรมอย่างไร
  6. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  7. ผลทางเศรษฐกิจ เช่น ความยากจนมีผลให้ผู้เยาว์กระทำความผิดทางกฎหมายอย่างไรบ้าง
  8. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  9. เหตุผลทางอารมณ์ เช่นความโกรธ ความคึกคะนอง ความก้าวร้าว ส่งผลให้ผู้เยาว์กระทำความผิดอย่างไรบ้าง
  10. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  11. ความฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือยทางสังคมมีผลยั่วยุและกระตุ้นให้ผู้เยาว์กระทำอย่างไรบ้าง ที่เป็นความผิดต่อกฎหมาย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ …..

เรื่อง การวิเคราะห์ข่าว

กฏหมายเกี่ยวกับความสามารถของผู้เยาว์เป็นกฎหมายแพ่งที่เน้นในด้สนการปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันของบุคคลในครอบครัว ทั้งนี้คนเราจะมีสภาพเป็นบุคคลตลอดไปตั้งแต่เกิดจนตายแต่ในระหว่างที่มีชีวิตอยู่นั้น กฎหมายได้จำแนกฐานะบุคคลให้เป็นผู้ที่มีชีวิตตั้งแต่เกิดจนถึงอายุ 20 ปีเป็นผู้เยาว์ซึ่งไม่สามารถทำนิติกรรมสัญญาต่างๆด้วยตนเองให้สมบูรณ์ตามกฎหมายได้ เว้นแต่จะได้รับการยินยอมจากบิดามารดาหรือผู้ปกครองเสียก่อน แต่ก็มียกเว้นบางรายที่ผู้เยาว์สามารถกระทำได้โดยไม่ถือเป็นโมฆียะ

ตามประมวลกฎหมายอาญากำหนดความผิดเกี่ยวกับการพรากผู้เยาว์ไว้ว่า “ผู้ที่พรากผู้เยาว์พาเด็กหญิงเด็กชายที่มีอายุไม่เกิน 18 ปี ไปจากบิดามารดาโดยอาจพาไปทำงานและมีรายได้ก็ตามถ้าหากบิดามารดาหรือผู้ปกครองของผู้เยาว์ไม่ยินยอม ผู้กระทำการพรากผู้เยาว์มีความผิด” ให้นักเรียนค้นคว้าข่าวจากหนังสือพิมพ์รายวันที่มีพฤติกรรม สอดคล้องกับประมวลกฎหมายข้างต้น แล้วเขียนสรุปดังนี้

  1. สรุปรายละเอียดของข่าว
  2. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  3. ลักษณะการกระทำที่ถือว่าผิดกฎหมาย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.ผลของการกระทำความผิดตามปรากฏในข่าว

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สาระเพิ่มเติม

กฎหมายน่ารู้

กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

 

โดย……

นางเยาวเรศ รัตนะ

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรียนทุ่งช้าง

ใบงานเรื่อง คำร้องการเปลี่ยนชื่อ

คำขอ แบบ ช. ๑

รับวันที่……………………

เลขที่รับ………………………….. เขียนที่ ………………………………

วันที่……..เดือน……………….พ.ศ. ……………………

เรียน นายทะเบียนท้องที่………………….

ด้วยข้าพเจ้า…………………………………………….อายุ ………..ปีสัญชาติ……………….

บิดาชื่อ…………………………….มารดาชื่อ………………………………อยู่บ้านเลขที่………………

ถนน…………………………..ตรอก หรือ ซอย…………………………………….หมู่ที่……………….

ข้าพเจ้ามีความประสงค์…………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอได้โปรดดำเนินการให้แกข้าพเจ้าตามประสงค์ด้วย

(ลายมือชื่อ)………………………………

(………………………………)

เสนอ นายทะเบียนเขต…………………………………………

เพื่อการตรวจสอบรายการในคำขอ ถูกต้องตามทะเบียนบ้านหรือไม่

(ลายมือชื่อ)………………………………

(………………………………)

เสนอ นายทะเบียนท้องที่…………………………………………

ได้ตรวจสอบคำขอกับทะเบียนบ้านแล้ปรากฏว่า………………………………………………...

๑. ผู้ขอมีอายุ………..ปี สัญชาติ………………….บิดาชื่อ……………………………………

มารดาชื่อ…………………………………..อยู่บ้านเลขที่………………ถนน…………………………...

ตรอก หรือ ซอย……………………….หมู่ที่……………………ตำบล………………………………….

อำเภอ……………………………จังหวัด………………………………

๒. ผู้ขอไม่มีชื่อยู่ในทะเบียนบ้านตามคำขอข้างต้น

(ลายมือชื่อ)………………………………

นายทะเบียนเขต…………………………

คำสั่ง……………………………………………………………………………………………………….

………………………………………

นายทะเบียนท้องที่

ใบงานที่…………..

เรื่อง บัตรประจำตัวประชาชน

  1. ให้นักเรียนบอกรายละเอียดจากการตรวจสอบบัตรประจำประชาชน หรือของบุคคลอื่นระบุอะไรต่อไปนี้
    1. …………………………………………………………………………………………………..
    2. …………………………………………………………………………………………………..
    3. …………………………………………………………………………………………………..
    4. …………………………………………………………………………………………………..

  2. บัตรประจำตัวแตกต่างจากบัตรอื่นๆอย่างไรบ้าง
  3. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  4. เพราะเหตุใดบางกรณีเราสามารถใช้บัตรข้าราชการหรือใบอนุญาตขับรถแทนบัตรประชาชนได้
  5. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  6. การแอบอ้างหรือนำบัตรผู้อื่นมาใช้แทนตนมีความผิดตามกฎหมายอย่างไร
  7. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  8. สมมติว่านักเรียนทำบัตรประจำตัวประชาชนหายนักเรียนจะปฏิบัติอย่างไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ ………..

เรื่อง รัฐธรรมนูญ

  1. รัฐธรรมนูญไทยกำหนดสาระสำคัญเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยไว้อย่างไรบ้าง
  2. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  3. วุฒิสภากับสภาผู้แทนราษฎรตามที่กำหนดในกฎหมายรัฐธรรมนูญมีความแตกต่างกันอย่างไร
  4. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  5. นักเรียนมีสิทธิสิทธิสำคัญอะไรบ้างในรัฐธรรมนูญของไทย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ปัจุบันนักเรียนมีสิทธิเสรีภาพในการกระทำอะไรบ้างที่สอดคล้องกับหลักรัฐธรรมนูญ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. จงอธิบายคำว่าการเลือกตั้งเป็นหน้าที่ของชนชาวไทย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  1. ประชาชนชาวไทยควรมีบทบาทอย่างไรบ้างตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่………

เรื่อง การประเมินค่ากฎหมาย

ข้อความ

  1. กฎหมายมีไว้เพื่อบังคับให้ประชาชนเชื่อฟังผู้ปกครอง
  2. วิชากฎหมายเป็นหนักเกิดไปสำหรับนักเรียนชั้นมัธยม
  3. วิชากฎหมายควรสร้างความเข้าใจเกี่ยวอำนาจ หน้าที่ของบุคคลและความรับผิดชอบต่อการกะทำของตน
  4. ความรู้ความเข้าใจกฎหมายเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อชีวิตก็ต่อเมื่อไปทำความผิดเข้า
  5. ชีวิตจะมีความสุขถ้าทุกคนปฏิบัติตามกฎหมาย
  6. การปฏิบัติตามกฎหมายก็เหมือนกับการปฏิบัติธรรมในหลักศาสนาที่ทำใหบุคคลพัฒนาจิตใจสูงขึ้น
  7. กฎหมายสำคัญของประเทศควรออกโดยสภาผู้แทนราษฎร
  8. กฎหมายในสังคมประชาธิปไตยควรเน้นที่เสรีภาพ เสมอภาพ สิทธิหน้าที่
  9. กฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญที่สุดที่ช่วยปกป้องสิทธิ เสรีภาพประชาชน
  10. การศึกษาเรื่องกฎหมายทำให้รู้ขอบเขตของกฎหมายได้ดี
         

สรุป เต็ม ได้ ผล

  1. เห็นควรอย่างยิ่ง
  2. ค่อนข้างเห็นด้วย
  3. ไม่แน่ใจ
  4. ไม่ค่อยเห็นด้วย
  5. ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

ใบงานที่……………

กฎหมายอาญา

  1. ลักษณะความผิดเช่นไรจึงจัดเข้าข่ายเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
  2. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  3. ความผิดต่อแผ่นดิน หมายถึงการกระทำในลักษณะใด
  4. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  5. ความผิดอันยอมความได้หมายความว่าอย่างไร ยกตัวอย่างประกอบ
  6. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  7. ตัวอย่างลักษณะการกระทำความผิดตามกฎหมาายอาญาที่น่าจะได้รับโทษถึงขั้นประหารชีวิต ได้แก่
  8. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

  9. โทษทางอาญามีอะไรบ้าง เรียงจากโทษเบาไปหาโทษหนัก

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่……..

เรื่อง สัญญาการกู้เงิน

 

สัญญากู้ยืมเงิน

ทำที่…………………………………..

วันที่……………………………………………

สัญญานี้ทำขึ้นระหว่าง………………………………………………….อยู่บ้านเลขที่…………

…………………….ซึ่งต่อไปนี้สัญญานี้จะเรียกว่า “ผู้ให้กู้”ฝ่ายหนึ่งกับ…………………………………

………………………………อยู่บ้านเลขที่………………………………………………………………

ซึ่งต่อไปนี้สัญญานี้จะเรียกว่า “ผู้กู้” โดยสองฝ่ายตกลงกันดังต่อไปนี้

๑. ผู้กู้ตกลงกู้เงินจากผู้ให้กู้และผู้ให้กู้กู้เงินได้เป็นจำนวน…………………………………บาท

(………………………) โดยผู้กู้ได้รับเงินจำนวนดังกล่าวจากผู้ให้กู้ถูกต้องครบถ้วยในวันที่ทำสัญญานี้เรียบร้อยแล้ว

๒. ผู้กู้ตกลงจะจ่ายดอกเบี้ยแก่ผู้ให้กู้ในอัตราร้อยละ ๑๕ บาทต่อปีของเงินต้นดังกล่าวในข้อ ๑.

๓. ผู้กู้สัญญาว่าจะใช้เงินต้นพร้อมดอกเบี้ยดังกล่าวในข้อ ๑. และ ข้อ ๒. คืนให้แก่ผู้ให้กู้จนครบถ้วนในวันที่……………………………………………………………..

๔. เพื่อเป็นการประกันในการกู้ยืมเงินตามสัญญานี้ ผู้กู้ยินยอมมอบ…………………………

……………………………………ให้แก่ผู้ให้กู้ไว้เป็นหลักฐานประกันในการชำระหนี้เงินกู้ตามสัญญานี้

๕. หากผู้กู้ไม่ปฏิบัติตามสัญญานี้แม้เพียงข้อใดข้อหนึ่ง ให้ถือว่าผิดสัญญานี้และยินยอมชำระหนี้เงินกู้ตามสัญญานี้พร้อมทั้งดอกเบี้ยคืนให้แก่ผู้กู้ทันที และผู้กู้ยินยอมชดใช้ค่าเสียหายทั้งปวงที่ผู้ให้กู้ต้องเสียไปในการบังคับให้ผู้กู้ชำระหนี้ตามสัญญานนี้

สัญญานี้ได้ทำขึ้นสองฉบับมีข้อความถูกต้องตรงกันโดยคู่สัญญาแต่ละฝ่ายต่างยึดถือไว้คนละฉบับและทั้งสองฝ่ายได้ลงชื่อไว้เป็นหลักฐานต่อหน้าพยาน

 

ลงชื่อ…………………………………………ผู้กู้

ลงชื่อ………………………………………ผู้ให้กู้

ลงชื่อ………………………………………พยาน

ลงชื่อ………………………………………พยาน

ใบงานที่….

เรื่อง สัตว์คุ้มครอง

สัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ ๑

สัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ ๒

สัตว์ป่าที่สูญพันธุ์แล้ว

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่…..

เรื่องการอนุรักษ์ สัตว์ป่า

  1. จะเห็นได้ว่าสัตว์ป่าเริ่มลดน้อยลง และบางประเภทก็สูญพันธุ์ไปแล้วทั้งนี้เกิดจากสาเหตุสำคัญอะไรบ้าง
  2. การกระทำของมนุษย์

    การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ

    …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  3. นักเรียนจะร่วมมือกันป้องกันปัญหาและอนุรักษ์สัตว์ป่าได้อย่างไร

การอนุรักษ์สัตว์ป่า

การปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่..

เรื่อง ศาล

  1. บทบาทและหน้าที่สำคัญของศาลที่มีต่อประเทศชาติคือ
  2. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  3. ศาลชั้นต้นมีหน้าที่สำคัญอย่างไรในการสร้างกระบวนการยุติธรรม
  4. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  5. ศาลอุทธรณ์มีหน้าที่สำคัญอย่างไรในการสร้างกระบวนการยุติธรรม
  6. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  7. ศาลฎีกาทำหน้าที่แตกต่างจากศาลอุทธรณ์อย่างไร
  8. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  9. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการตั้งศาลพิเศษขึ้นมา
  10. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  11. วัตถุประสงค์สำคัญของการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว คือ
  12. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  13. องค์คณะผู้พิพากษามีหน้าที่สำคัญอย่างไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ …

เรื่อง การบริหารราชการ

  1. ให้นักเรียนรวบรวมรายชื่อหน่วยงานและผลงานเด่นๆที่สังกัดอยู่ในองค์การบริหารส่วนจังหวัด
  2. รายชื่อหน่วยงานที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด

    ผลงานต่อท้องถิ่น

    ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

  3. ให้นักเรียนกรอกรายชื่อสมาชิกสภาจังหวัดชุดปัจจุบัน

รายชื่อสมาชิกสภาจังหวัด

อายุ

เพศ

อาชีพ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ ….

เรื่อง หลักสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย

คำชี้แจง

    1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าหัวข้อต่อไปนี้
      1. อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
      2. หลักเสรีภาพ
      3. ความเสมอภาค
      4. หลักกฎหมาย
      5. ผู้ปกครองมาจากการเลือกตั้ง
    2. ค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ ห้องสมุด ห้องศูนย์สังคม หนังสือพิมพ์ หนังสือการปกครองไทย
    3. รายงานผลการค้นคว้า ตรวจสอบข้อมูล
    4. เสนองานหน้าชั้นเรียน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ใบงานที่ ….

เรื่องลักษณะสังคมประชาธิปไตย

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนลักษณะของสังคมประชาธิปไตยในตารางที่กำหนด

ลักษณะสังคมประชาธิปไตย

บทบาทที่แสดงออก

1. การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ

 

 

 

 

2. การเคารพในศักดิ์ศรีและความเท่าเทียมกันของมนุษย์

 

 

 

 

3. ความยุติธรรมในสังคม

 

 

 

 

4. การยึดมั่นในหลักการมากกว่าตัวบุคคล

 

 

 

 

5. การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินปัญหา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ใบงานที่….

การปฏิบัติตนตามหลักประชาธิปไตยในครอบครัว

ชื่อ – สกุล ……………………………………………….ชั้น………เลขที่………

คำชี้แจง

    1. ให้ผู้เรียนบันทึกตน โดยนำหลักธรรมของการอยู่ร่วมกันและหลักประชาธิปไตยมาเป็นแนวทางการปฏิบัติลงในแบบบันทึกข้างล่างนี้
    2. ให้ผู้เรียนส่งบันทึกหลังจากลงมือปฏิบัติ 2 คาบเรียน

วัน เดือน ปี

การปฏิบัติตน

ผลการปฏิบัติ

ปัญหา / อุปสรรค แนวทางแก้ไข

       
       
       
       
       
       
       
       
       
       
       
       
       

ลงชื่อ…………………………………..ผู้บันทึก

วันที่……เดือน…………...ศ…….

สรุปความคิดเห็นของผู้ปกครอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………..ผู้บันทึก

วันที่……เดือน…………...ศ…….

 

 

 

 

 

 

 

แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม

เลขที่

ชื่อ – สกุล

ของผู้รับการประเมิน

ความคิด

ริเริ่ม

การใช้

เหตุผล

การแสดงออก

การรับฟังความคิดเห็น

ความตรงต่อเวลา

รวม

4

4

4

4

4

20

               
               
               
               
               
               
               

 

ลงชื่อ……………………………………ผู้ประเมิน

วันที่………..เดือน…………...ศ………

 

เกณฑ์การประเมินดังนี้

4 = ดีมาก

3 = ดี

2 = ปานกลาง

1 = ผ่าน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แบบประเมินผลงานกลุ่ม

กลุ่มที่………………………………………….

เลขที่

ชื่อ – สกุล

ของผู้รับการประเมิน

ความ ถูกต้อง

สาระประโยชน์

ความมีเหตุผล

ความคิดริเริ่ม

รวม

4

4

4

4

16

             
             
             
             
             
             
             

ลงชื่อ……………………………………ผู้ประเมิน

วันที่………..เดือน…………...ศ………

 

เกณฑ์การประเมินดังนี้

4 = ดีมาก

3 = ดี

2 = ปานกลาง

1 = ผ่าน

0 = ปรับปรุง

 

 

 

 

 

ใบงานที่…….

เรื่อง ฉันมีสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่

คำชี้แจง

  1. ให้ผู้เรียนศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 หมวด 3 เรื่อง สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หมวด 4 เรื่องหน้าที่ชาวไทย

ตอนที่ 1 สิทธิ

สิทธิที่ฉันรับมีอะไรบ้าง

ฉันและสมาชิกในครอบครัวปฏิบัติอย่างไร

  1. …………………………………………….
  2. …………………………………………….
  3. …………………………………………….
  4. …………………………………………….
  5. …………………………………………….
  6. …………………………………………….
  7. …………………………………………….
  8. …………………………………………….
  9. …………………………………………….
  10. …………………………………………….
  11. …………………………………………….
  12. …………………………………………….
  1. …………………………………………….
  2. …………………………………………….
  3. …………………………………………….
  4. …………………………………………….
  5. …………………………………………….
  6. …………………………………………….
  7. …………………………………………….
  8. …………………………………………….
  9. …………………………………………….
  10. …………………………………………….
  11. …………………………………………….
  12. …………………………………………….

สิทธิเหล่านี้ฉันรู้สึกว่า พอใจ หรือ ไม่พอใจ เพราะ…………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ฉันตั้งใจจะรักษาสิทธิของฉันด้วยการปฏิบัติตนดังนี้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตอนที่ 2 หน้าที่

หน้าที่ฉันรับมีอะไรบ้าง

ฉันและสมาชิกในครอบครัวปฏิบัติอย่างไร

  1. …………………………………………….
  2. …………………………………………….
  3. …………………………………………….
  4. …………………………………………….
  5. …………………………………………….
  6. …………………………………………….
  7. …………………………………………….
  8. …………………………………………….
  9. …………………………………………….
  10. …………………………………………….
  11. …………………………………………….
  12. …………………………………………….
  1. …………………………………………….
  2. …………………………………………….
  3. …………………………………………….
  4. …………………………………………….
  5. …………………………………………….
  6. …………………………………………….
  7. …………………………………………….
  8. …………………………………………….
  9. …………………………………………….
  10. …………………………………………….
  11. …………………………………………….
  12. …………………………………………….

เมื่อได้รับหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญฉันรู้สึกว่า พอใจ หรือ ไม่พอใจ เพราะ…………..………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ฉันตั้งใจจะทำหน้าที่พลเมืองดีของไทยด้วยการปฏิบัติตนดังนี้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตอนที่ 3 เสรีภาพ

เสรีภาพที่ฉันรับมีอะไรบ้าง

ฉันและสมาชิกในครอบครัวปฏิบัติอย่างไร

  1. …………………………………………….
  2. …………………………………………….
  3. …………………………………………….
  4. …………………………………………….
  5. …………………………………………….
  6. …………………………………………….
  7. …………………………………………….
  8. …………………………………………….
  9. …………………………………………….
  10. ………………………………………
  11. ………………………………………
  12. ………………………………………
  1. …………………………………………….
  2. …………………………………………….
  3. …………………………………………….
  4. …………………………………………….
  5. …………………………………………….
  6. …………………………………………….
  7. …………………………………………….
  8. …………………………………………….
  9. …………………………………………….
  10. ………………………………………
  11. ………………………………………
  12. ………………………………………

ฉัน ภูมิใจ หรือ ไม่ภูมิใจในเสรีภาพของฉัน เพราะ…………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ฉันตั้งใจว่าฉันจะรักษาซึ่งเสรีภาพของฉันโดยการปฏิบัติตนดังนี้

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………….ผู้เรียน

ลงชื่อ……………………………….ผู้สอน

 

 

 

 

ใบงานที่….

เรื่องทะเบียนสมรส

ทะเบียนสมรส

ที่ว่าการอำเภอ………………………………จังหวัด……………………………..

รายการ

ชาย

หญิง

๑. นาม

…………………………………

…………………………………

๒. เชื้อชาติ สัญชาติ

…………………………………

…………………………………

๓. ถิ่นที่อยู่

…………………………………

…………………………………

๔. อายุ

เกิด วัน เดือน ปี

……………………………………………………………………

……………………………………………………………………

๕. ที่เกิด

…………………………………

…………………………………

๖. อาชีพ

…………………………………

…………………………………

๗. นามบิดา

…………………………………

…………………………………

๘. ประเทศที่เกิดบิดา

…………………………………

…………………………………

๙. นามมารดา

…………………………………

…………………………………

๑๐.ประเทศที่เกิดขอมารดา

…………………………………

…………………………………

๑๑.ลายมือผู้ร้องขอจดทะเบียน

…………………………………

…………………………………

๑๒.ลายมือผู้ให้ความยินยอม

…………………………………

…………………………………

๑๓.ลายมือพยาน

๑. ……………………………………………………………………

๒. ……………………………………………………………………

๑๔.

เลขทะเบียน

 

วัน เดือน ปี

 

ลายมือชื่อนายทะเบียน

 

รับรองว่าสำเนาทะเบียนบ้านฉบับนี้ถูกต้องแล้ว

วันที่…………เดือน……………….พุทธศักราช………….

………………………………………….

นายทะเบียน

 

ใบงานที่…

เรียงความเรื่อง ป่ากับชีวิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

 

ใบงานที่…

เรียงความเรื่อง โทษของยาเสพติดกับตนและกฎหมาย

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

 

ใบงานที่……

เรื่องการบริหารแผ่นดิน

คำสั่ง จงเติมข้อความในกล่องข้อความให้สมบูรณ์ที่สุด ถูกต้องที่สุด

 




แหล่งอ้างอิง : คุณเยาวเรศ รัตนะ โรงเรียนทุ่งช้าง จังหวัดน่าน ศึกษาปริญญาโท คณะครุศาสตร์ ม.ราชภัฏอุตรดิตถ์ 53000 โทร 054795407

โดย : นาง เยาวเรศ รัตนะ, โรงเรียนทุ่งช้าง, วันที่ 26 มิถุนายน 2548