มะคำดึควาย

คลิกสองครั้งเพื่อเพิ่มภาพตัดปะ

 

ชื่อคลิหัวข้อนี้เป็นส่วนหนึ่งของเรื่อง                  มะคำดีควายsamunpai.com

วิทยาศาสตร์ Sapindus rarak A.DC. วงศ์ Sapindaceae

ชื่อท้องถิ่น ชะแช ชะเหล่เด (กะเหรี่ยง-แม้ฮ่องสอน)
ประคำดีควาย (ภาคกลาง ภาคใต้)มะซัก ส้มป่อยเถม (ภาคเหนือ)

ลักษณะของพืช มะคำดีควายเป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ใบใหญ่ตัดกับลำต้นแบบสลับประกอบกับใบย่อย รูปใบเรียวยาวขอบใบค่อนข้างขนานกัน ปลายแลโคนใบแหลม
เนื้อใบสองข้างไม่เท่ากัน ดอกเล็กสีขาวอมเหลืองหรืออมเขียวดอกเป็นช่อม่วง ค่อนข้างกลม สีส้ม

การปลูก ใช้เมล็ดเพาะเป็นต้นกล้าก่อน แล้วย้ายไปปลูกในที่ๆเตรียมไว้
คอยดูแลให้น้ำและกำจัดวัชพืชให้ดีด้วย

ส่วนที่ใช้เป็นยา ผลแก่

ช่วงเวลาที่เก็บยา เก็บช่วงผลแก่ เอาไปตากแดดจนแห้ง

รสและสรรพคุณยาไทย รสขม แก้กาฬภายใน แก้พิษไข้ ดับพิษร้อน ผลเอามาต้มและจะเกิดฟองขึ้น เอาสุมหัวเด็กแกหวัดตามแบบอย่างโบราณแก้รังแคก็ได้ ใช้ซักผ้าและเอามาสระผมก็ได้

ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ สารเคมีในผลมะคำดีควายก็คือ
Saponin,emerginatonede, o-methyl-saponin
เป็นต้นส่วนสรรพคุณแก้ชันนะตุ คาดว่าเกิดจากสาร Saponin

วิธีใช้ ผลของมะคำดีควาย ใช้รักษาชันนะตุที่หัวเด็กได้ดี โดยเอาผลมะคำดีควายมาสัก 5 ผล ทุบพบแตกต้มกับน้ำประมาณ 1 ถ้วย ปล่อยเอาไว้ให้เย็น แล้วทาที่หนังศีรษะบริเวณที่เป็นโรควันละ 3 ครั้ง เช้า กลางวันและเย็น จนกว่าจะหายแต่ต้องระวังอย่าให้เข้าตาจะทำให้เกิดอาการแสบตาได้ผลของมะคำดีควายเข้ากับเครื่องยาไทยขนานมากเพราะเป็นส่วนหนึ่งที่แก้ไข้ได้ดีนั่นเอง

น.ส. นภเกตน์ บุญส่ง เลขที่ 17 ม.6

www.samonpai.com 22 / 7 / 2545



 

 

 

ชื่อคลิหัวข้อนี้เป็นส่วนหนึ่งของ กเพื่อ

เรื่อง มะคำดีควายsamunpai.com

 

คลิกเพื่อเพิ่มข้อความ


แหล่งอ้างอิง : www.samunpai.com

โดย : นางสาว นภเกตน์ บุญส่ง, โรงเรียนเสนา"เสนาประสิทธิ์, วันที่ 20 กันยายน 2545