วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเทศอุสาหกรรมต่างๆ ให้ความสำคังยกับการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นมากเชื่อว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นแรงผักดันที่สำคัญที่ก่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าของระบบสังคมและเศษฐกิจของประเทศ
การสืบค้นผลงานตีพิมพ์ของประเทศหนึ่งๆในระดับนานาชาติ
การผลิตวรรกรรมด้านวิทยาศาสตร์ โดตเฉพาะในรูปสิ่งพิมพ์ในวารสารวิชาการ สามารถแสดงถึงสถานภาพในระดับประเทืศ ระดับสถาบัน และระดับวิจัยได้ การสืบค้นหาผลงานตีพิมพ์ของประเทศหนึ่งๆในระดับนานาชาติสามารถทำได้อย่างสะดวกรวดเร็วเนื่องจากแหล่งข้อมูลหรือฐานข้อมูลที่ยอมรับและมีชื่อเสียงมากมาย
การวิเคราะห์ Bcience Bibliometry โดยองค์กรต่างๆ จะใช้ฐานข้อมูลเป็นตัวแทนพื้นฐานของสิ่งิพทพ์ด้านวิทยาศสตร์ เป็ยฐานข้อมูลที่รวบรวมบทความจากวารสารที่ถูกอ้างอิงมากที่สุดถึงจำนวน 2,500 ชื่อ
ลักษณะเด่นของฐานขอมูล
-เป็นฐานข้อมูลที่คัดสรรวรรรรกรรมด้านวิทยาศาสตร์มาป็นพิเศษโดยใช้เกณฑ์จากอ้างอิงถงวารสารสำคัญ
-เป็นข้อมูลที่ครอบคลุม เนื้อหาวิยาศาสตร์ที่สมบูรณ์ที่สุดของโลก
-เป็นฐานข้อมูลที่ใช้ข้อมูลลึงถึงดัชนีอ้างอิง ของแต่ละบทความ
-เป็นบานข้อมูลที่ใช้ชื่อที่อยู่ของผู้แต่งครบทุกคน
จากการศึกษาพบว่าในช่วงปี .คศ. 1995-2000 ประเทศไทยสามารถผลิตบทความตีพิทพ์ด้นวิทยาศสตร์ให้เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากจำนวน706 บทความ ในปีค.ส. 2000หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 0.14ต่อปี ทั้งนีเมื่อเปรียบเทียบกับประเทสในทวีปเอเชียทั่งหมดจะพบว่าประเทศไทยสามารถผลิตบทความตีพิมพ์
ด้านวิทยาศสตร์ได้เป็นอันดับที่ 7 อย่างไรก็ตามเมือพิจารณาในง่จำนวนประชากรต่ 1 บทความในระดับค่อนข้างสูงคือประมาณ 45,627 คนต่อหนึ่งบทความ
ที่มา วารสารนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ธันวาคม 2544 ISSN 1513 -7309
|