วรรณคดีมรดก

                              วรรณคดีมรดก

วรรณคดีมรดก ม.ล.บุญเหลือ  เทพยสุวรรณให้ความหมายว่า  เป็นหนัสือที่แต่งก่อนจะได้รับอิทธิพลจากตะวันตก  ส่วนใหญ่เป็นหนังสือที่แต่งแบบร้อยกรองและได้รับการยกย่องว่าเป็นหนังสือที่แต่งดี  มีวรรณศิลป์  มีการแต่งซึ่งถือว่าเป็นประเพณีในการแต่ง  คือ  มี่ตัวละครเป็นกษัตริย์  เป็นเรื่อง จักร ๆ วงศ์ ๆ  หรือเป็นเรื่องที่แสดงอารมณ์ของผู้แต่ง  และสะท้อนให้เฃห็นค่านิยมของคนไทยรุ่นเก่า  ฉะนั้นวรรณคดีมรดกจึงเป็นวรรณคดีที่กวีไทยในอดีตเขียนอย่างมีศิลปะโดยมิได้รับอิทธิพลจากชาติตะวันตกเลย  และได้รับก รยกย่องว่าเป็นหนัสือดีที่เป็นแบบฉบับ  ควรค่ากับการเป็นหนังสือดีของชาติ  เพื่ออนุชนรุ่นหลังจะได้อ่านประดับสติปัญญา  และระลึกถึงบรรพบุรุษที่แสดงลักษณะความเป็นไทยอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ

            ลักษณะของวรรณคดีมรดก

     1เป็นหนังสือที่แต่งดีมีศิลปะ  หมายความว่า ในทรรศนะของผู้รู้ยอมรับกันว่าเป็นหนังสือที่มีรูปแบบคำประพันธ์ถูกต้องเหมาะสม  แต่งด้วยความเคารพกฏเกณฑ์แบบแผนและข้อปฏิบัติของการแต่งหนังสือ  โครงเรื่องและเนื้อเรื้องดีเด่น  ท่วงทำนองการเขียนก่อให้เกิดรสไพเราะ  และเป็นวรรณศิลป์ชวนอ่าน  วรรณคดีมรดกเป็นหนังสือที่ควรยกย่องว่าเป็นอมตะ  อ่านได้ทุกยุคทุกสมัย

    2

 



แหล่งอ้างอิง : ภาษาไทย2,วิมล จิโรจพันธ์

โดย : นางสาว วัชรา ศรีเอี่ยม, โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม, วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2547