จ. ชัยนาท

คลิกสองครั้งเพื่อเพิ่มภาพตัดปะ
อนกระโดน เป็นพระเนื้อตะกั่วสนิมแดง พุทธศิลป์เป็นแบบลพบุรี เนื้อพระหากไม่ได้ถูกล้างจะมีไขขาวคลุมอยู่อย่างแน่นหนา หากล้างเอาไขออกด้วยกรรมวิธีทางเคมี จะทำให้สนิมแดงสีลูกหว้าโผล่ออกมาชัดเจน พระพุทธคุณทางด้านคงกระพันและแคล้วคลาดจากอันตรายเป็นเลิศ หลังจากพระแพร่หลายออกไป ก็มีมากจนเล่าลือกันไปในวงกว้าง แถมราคายังถูกกว่าพระร่วงลพบุรี และพระร่วงสุพรรณบางกรุ จึงมีผู้สะสมสืบมาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งหากสวยๆ ด้วยกันล่ะก็ พระร่วงกรุดอนกระโดนจะถูกซื้อไปก่อน หากวางอยู่กับพระร่วงมีอันดับด้วยกันเพราะซื้อพระร่วงหนองแจงหนึ่งองค์ แต่จะซื้อพระร่วงกรุดอนกระโดนได้ถึงสององค์เลยทีเดียว

บ้านดอนกระโดน อ.หันคา จ.ชัยนาท แม้จะไม่ปรากฏร่องรอยโบราณสถานอย่างเป็นชิ้นเป็นอัน เพราะกลายเป็นท้องทุ่งท้องนาให้เกษตรกรได้อาศัยพลิกฟื้นผืนดินให้เป็นเงินเป็นทอง ประมาณ พ.ศ. 2525 เห็นจะได้กระมัง พระร่วงสนิมแดงทะลักเข้าสนามพระวัดราชนัดดา คนสุพรรณเป็นคนนำติดตัวมา เซียนซื้อไว้ทั้งหมดและถามว่าได้มาจากไหน พอรู้ว่ามาจาก อ.เดิมบาง สุพรรณ เซียนก็พากันแห่ไปสอบถามเซียนท้องถิ่น แต่เซียนท้องถิ่นก็ได้แต่เป็นใบ้ เพราะพระได้มาจากชาวบ้านอีกต่อ

ด้วยคนที่นำพระมาให้บูชาคนแรกไม่ยอมบอกว่าได้มาจากที่ใด เพราะมีญาติเอามาฝากไว้ และกำชับไว้ว่า อย่าได้บอกที่มา ด้วยกลัวว่าทางราชการจะมาเล่นงาน เพราะเป็นทรัพย์แผ่นดินที่ขุดขึ้นมาได้ เซียนสุพรรณจึงพากันไปหาตามแหล่งที่เคยมีพระสนิมแดงขึ้น เช่น ที่หนองแจง หรือที่อู่ทอง ทว่าไม่เคยได้ข่าวการแตกกรุ ในขณะเดียวกันเมื่อล้างไขที่พระออกแล้ว สนิมแดงสีลูกหว้าก็โผล่ออกมาท้าทายนักเลงพระให้กระหายยิ่งขึ้นไปอีก

ข่าวการแตกกรุสับสนจับต้นชนปลายไม่ถูก เพราะต่างฝ่ายต่างก็ปิดบัง และแหกตาเพื่อหลอกกันจะถูกล้วงตับไปติดต่อกับเจ้าของกรุ เพราะนอกจากจะไม่ได้ค่านายหน้า หรือค่าคอมมิชชั่นแล้ว ยังอาจถูกเจ้าของกรุชกเอาง่ายๆ เพราะอาจจะถูกจับดำเนินคดีฐานยักยอกทรัพย์แผ่นดิน

ที่สุดเมื่อมีการเสนอเงินจำนวนหนึ่งให้ผู้ที่เป็นผู้เผยแพร่พระชุดนี้ ให้บอกถึงต้นกรุ ทำให้ความจริงเปิดเผย และมีการพาเซียนพระจากสุพรรณไปยังต้นกำเนิดคือ ที่ไร่ของชาวไร่จนๆ คนหนึ่งใน ต.ดอนกระโดน อ.หันคา จ.ชัยนาท ซึ่งยังคงเหลือพระอยู่จำนวนมากพอสมควร และที่น่าสนใจคือ ไหแบบลพบุรีอันเป็นที่บรรจุพระยังอยู่ให้เห็น แม้จะชำรุดไปบ้าง แต่ที่สุดก็ถูกซื้อไป

เจ้าของบ้านเปิดเผยว่า ได้ทำการปรับที่ดินที่รกร้าง และยังไม่เคยได้เปิดเพื่อทำไร่ แต่เมื่อปรับดินที่ได้เจอมูลดินเก่า จึงปรับมูลดินและพบหลุมที่มีอิฐก้อนใหญ่ๆ คล้ายก้อนแลงปิดอยู่ เมื่อรื้ออิฐที่ปิดอยู่ก็พบว่า ด้านในเป็นทรายละเอียด จึงคุ้ยนำทรายละเอียดขึ้นจึงพบไหอยู่ภายใน เมื่อนำไหมาเปิดดูภายในก็พบ พระสนิมแดงจำนวนมากอยู่ภายใน จึงคัดแยกที่ดีๆ นำมาฝากญาติที่ อ.เดิมบางขาย เพราะไม่ต้องการให้มีใครรู้ว่าขึ้นมาจากดอนกระโดนด้วยเกรงจะมีความผิด

พระกรุดอนกระโดนจำนวนสุดท้ายจึงออกจากความครอบครองของเจ้าของกรุ และพลอยทำให้ชาวบ้านที่ได้รับแจก พากันนำเอามาขายเพื่อแลกเงิน จนไม่มีเหลืออยู่ในครอบครอง มีการถ่ายภาพทำประวัติมาลง น.ส.พ.พระเครื่องกันเอิกเกริกเรียกกันว่า "พระกรุดอนกระโดน"

พระร่วงกรุด

บ้านดอนกระโดน อ.หันคา จ.ชัยนาท แม้จะไม่ปรากฏร่องรอยโบราณสถานอย่างเป็นชิ้นเป็นอัน เพราะกลายเป็นท้องทุ่งท้องนาให้เกษตรกรได้อาศัยพลิกฟื้นผืนดินให้เป็นเงินเป็นทอง ประมาณ พ.ศ. 2525 เห็นจะได้กระมัง พระร่วงสนิมแดงทะลักเข้าสนามพระวัดราชนัดดา คนสุพรรณเป็นคนนำติดตัวมา เซียนซื้อไว้ทั้งหมดและถามว่าได้มาจากไหน พอรู้ว่ามาจาก อ.เดิมบาง สุพรรณ เซียนก็พากันแห่ไปสอบถามเซียนท้องถิ่น แต่เซียนท้องถิ่นก็ได้แต่เป็นใบ้ เพราะพระได้มาจากชาวบ้านอีกต่อ

ด้วยคนที่นำพระมาให้บูชาคนแรกไม่ยอมบอกว่าได้มาจากที่ใด เพราะมีญาติเอามาฝากไว้ และกำชับไว้ว่า อย่าได้บอกที่มา ด้วยกลัวว่าทางราชการจะมาเล่นงาน เพราะเป็นทรัพย์แผ่นดินที่ขุดขึ้นมาได้ เซียนสุพรรณจึงพากันไปหาตามแหล่งที่เคยมีพระสนิมแดงขึ้น เช่น ที่หนองแจง หรือที่อู่ทอง ทว่าไม่เคยได้ข่าวการแตกกรุ ในขณะเดียวกันเมื่อล้างไขที่พระออกแล้ว สนิมแดงสีลูกหว้าก็โผล่ออกมาท้าทายนักเลงพระให้กระหายยิ่งขึ้นไปอีก

ข่าวการแตกกรุสับสนจับต้นชนปลายไม่ถูก เพราะต่างฝ่ายต่างก็ปิดบัง และแหกตาเพื่อหลอกกันจะถูกล้วงตับไปติดต่อกับเจ้าของกรุ เพราะนอกจากจะไม่ได้ค่านายหน้า หรือค่าคอมมิชชั่นแล้ว ยังอาจถูกเจ้าของกรุชกเอาง่ายๆ เพราะอาจจะถูกจับดำเนินคดีฐานยักยอกทรัพย์แผ่นดิน

ที่สุดเมื่อมีการเสนอเงินจำนวนหนึ่งให้ผู้ที่เป็นผู้เผยแพร่พระชุดนี้ ให้บอกถึงต้นกรุ ทำให้ความจริงเปิดเผย และมีการพาเซียนพระจากสุพรรณไปยังต้นกำเนิดคือ ที่ไร่ของชาวไร่จนๆ คนหนึ่งใน ต.ดอนกระโดน อ.หันคา จ.ชัยนาท ซึ่งยังคงเหลือพระอยู่จำนวนมากพอสมควร และที่น่าสนใจคือ ไหแบบลพบุรีอันเป็นที่บรรจุพระยังอยู่ให้เห็น แม้จะชำรุดไปบ้าง แต่ที่สุดก็ถูกซื้อไป

เจ้าของบ้านเปิดเผยว่า ได้ทำการปรับที่ดินที่รกร้าง และยังไม่เคยได้เปิดเพื่อทำไร่ แต่เมื่อปรับดินที่ได้เจอมูลดินเก่า จึงปรับมูลดินและพบหลุมที่มีอิฐก้อนใหญ่ๆ คล้ายก้อนแลงปิดอยู่ เมื่อรื้ออิฐที่ปิดอยู่ก็พบว่า ด้านในเป็นทรายละเอียด จึงคุ้ยนำทรายละเอียดขึ้นจึงพบไหอยู่ภายใน เมื่อนำไหมาเปิดดูภายในก็พบ พระสนิมแดงจำนวนมากอยู่ภายใน จึงคัดแยกที่ดีๆ นำมาฝากญาติที่ อ.เดิมบางขาย เพราะไม่ต้องการให้มีใครรู้ว่าขึ้นมาจากดอนกระโดนด้วยเกรงจะมีความผิด

พระกรุดอนกระโดนจำนวนสุดท้ายจึงออกจากความครอบครองของเจ้าของกรุ และพลอยทำให้ชาวบ้านที่ได้รับแจก พากันนำเอามาขายเพื่อแลกเงิน จนไม่มีเหลืออยู่ในครอบครอง มีการถ่ายภาพทำประวัติมาลง น.ส.พ.พระเครื่องกันเอิกเกริกเรียกกันว่า "พระกรุดอนกระโดน"

พระร่วงกรุดอนกระโดน เป็นพระเนื้อตะกั่วสนิมแดง พุทธศิลป์เป็นแบบลพบุรี เนื้อพระหากไม่ได้ถูกล้างจะมีไขขาวคลุมอยู่อย่างแน่นหนา หากล้างเอาไขออกด้วยกรรมวิธีทางเคมี จะทำให้สนิมแดงสีลูกหว้าโผล่ออกมาชัดเจน พระพุทธคุณทางด้านคงกระพันและแคล้วคลาดจากอันตรายเป็นเลิศ หลังจากพระแพร่หลายออกไป ก็มีมากจนเล่าลือกันไปในวงกว้าง แถมราคายังถูกกว่าพระร่วงลพบุรี และพระร่วงสุพรรณบางกรุ จึงมีผู้สะสมสืบมาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งหากสวยๆ ด้วยกันล่ะก็ พระร่วงกรุดอนกระโดนจะถูกซื้อไปก่อน หากวางอยู่กับพระร่วงมีอันดับด้วยกันเพราะซื้อพระร่วงหนองแจงหนึ่งองค์ แต่จะซื้อพระร่วงกรุดอนกระโดนได้ถึงสององค์เลยทีเดียว


[ พระบูชา ][ พระกรุ] [ พระเกจิฯ ] [ เหรียญ ] [ เครื่องราง ] [ พระแท้แปลกตา ] [ พระใหม่มาแรง ] [ ไฮไลทฺ์ ] [ สรรพสาระ ] [ วิเคราะห์สถานการณ์ ]

กลับไปหน้าแรก


Copyright(c) 2002 by saranugrompra.com
presented by saranugrompra@yahoo.com


[ พระบูชา ][ พระกรุ] [ พระเกจิฯ ] [ เหรียญ ] [ เครื่องราง ] [ พระแท้แปลกตา ] [ พระใหม่มาแรง ] [ ไฮไลทฺ์ ] [ สรรพสาระ ] [ วิเคราะห์สถานการณ์ ]

กลับไปหน้าแรก


Copyright(c) 2002 by saranugrompra.com
presented by saranugrompra@yahoo.com


บ้านดอนกระโดน อ.หันคา จ.ชัยนาท แม้จะไม่ปรากฏร่องรอยโบราณสถานอย่างเป็นชิ้นเป็นอัน เพราะกลายเป็นท้องทุ่งท้องนาให้เกษตรกรได้อาศัยพลิกฟื้นผืนดินให้เป็นเงินเป็นทอง ประมาณ พ.ศ. 2525 เห็นจะได้กระมัง พระร่วงสนิมแดงทะลักเข้าสนามพระวัดราชนัดดา คนสุพรรณเป็นคนนำติดตัวมา เซียนซื้อไว้ทั้งหมดและถามว่าได้มาจากไหน พอรู้ว่ามาจาก อ.เดิมบาง สุพรรณ เซียนก็พากันแห่ไปสอบถามเซียนท้องถิ่น แต่เซียนท้องถิ่นก็ได้แต่เป็นใบ้ เพราะพระได้มาจากชาวบ้านอีกต่อ

ด้วยคนที่นำพระมาให้บูชาคนแรกไม่ยอมบอกว่าได้มาจากที่ใด เพราะมีญาติเอามาฝากไว้ และกำชับไว้ว่า อย่าได้บอกที่มา ด้วยกลัวว่าทางราชการจะมาเล่นงาน เพราะเป็นทรัพย์แผ่นดินที่ขุดขึ้นมาได้ เซียนสุพรรณจึงพากันไปหาตามแหล่งที่เคยมีพระสนิมแดงขึ้น เช่น ที่หนองแจง หรือที่อู่ทอง ทว่าไม่เคยได้ข่าวการแตกกรุ ในขณะเดียวกันเมื่อล้างไขที่พระออกแล้ว สนิมแดงสีลูกหว้าก็โผล่ออกมาท้าทายนักเลงพระให้กระหายยิ่งขึ้นไปอีก

ข่าวการแตกกรุสับสนจับต้นชนปลายไม่ถูก เพราะต่างฝ่ายต่างก็ปิดบัง และแหกตาเพื่อหลอกกันจะถูกล้วงตับไปติดต่อกับเจ้าของกรุ เพราะนอกจากจะไม่ได้ค่านายหน้า หรือค่าคอมมิชชั่นแล้ว ยังอาจถูกเจ้าของกรุชกเอาง่ายๆ เพราะอาจจะถูกจับดำเนินคดีฐานยักยอกทรัพย์แผ่นดิน

ที่สุดเมื่อมีการเสนอเงินจำนวนหนึ่งให้ผู้ที่เป็นผู้เผยแพร่พระชุดนี้ ให้บอกถึงต้นกรุ ทำให้ความจริงเปิดเผย และมีการพาเซียนพระจากสุพรรณไปยังต้นกำเนิดคือ ที่ไร่ของชาวไร่จนๆ คนหนึ่งใน ต.ดอนกระโดน อ.หันคา จ.ชัยนาท ซึ่งยังคงเหลือพระอยู่จำนวนมากพอสมควร และที่น่าสนใจคือ ไหแบบลพบุรีอันเป็นที่บรรจุพระยังอยู่ให้เห็น แม้จะชำรุดไปบ้าง แต่ที่สุดก็ถูกซื้อไป

เจ้าของบ้านเปิดเผยว่า ได้ทำการปรับที่ดินที่รกร้าง และยังไม่เคยได้เปิดเพื่อทำไร่ แต่เมื่อปรับดินที่ได้เจอมูลดินเก่า จึงปรับมูลดินและพบหลุมที่มีอิฐก้อนใหญ่ๆ คล้ายก้อนแลงปิดอยู่ เมื่อรื้ออิฐที่ปิดอยู่ก็พบว่า ด้านในเป็นทรายละเอียด จึงคุ้ยนำทรายละเอียดขึ้นจึงพบไหอยู่ภายใน เมื่อนำไหมาเปิดดูภายในก็พบ พระสนิมแดงจำนวนมากอยู่ภายใน จึงคัดแยกที่ดีๆ นำมาฝากญาติที่ อ.เดิมบางขาย เพราะไม่ต้องการให้มีใครรู้ว่าขึ้นมาจากดอนกระโดนด้วยเกรงจะมีความผิด

พระกรุดอนกระโดนจำนวนสุดท้ายจึงออกจากความครอบครองของเจ้าของกรุ และพลอยทำให้ชาวบ้านที่ได้รับแจก พากันนำเอามาขายเพื่อแลกเงิน จนไม่มีเหลืออยู่ในครอบครอง มีการถ่ายภาพทำประวัติมาลง น.ส.พ.พระเครื่องกันเอิกเกริกเรียกกันว่า "พระกรุดอนกระโดน"

พระร่วงกรุดอนกระโดน เป็นพระเนื้อตะกั่วสนิมแดง พุทธศิลป์เป็นแบบลพบุรี เนื้อพระหากไม่ได้ถูกล้างจะมีไขขาวคลุมอยู่อย่างแน่นหนา หากล้างเอาไขออกด้วยกรรมวิธีทางเคมี จะทำให้สนิมแดงสีลูกหว้าโผล่ออกมาชัดเจน พระพุทธคุณทางด้านคงกระพันและแคล้วคลาดจากอันตรายเป็นเลิศ หลังจากพระแพร่หลายออกไป ก็มีมากจนเล่าลือกันไปในวงกว้าง แถมราคายังถูกกว่าพระร่วงลพบุรี และพระร่วงสุพรรณบางกรุ จึงมีผู้สะสมสืบมาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งหากสวยๆ ด้วยกันล่ะก็ พระร่วงกรุดอนกระโดนจะถูกซื้อไปก่อน หากวางอยู่กับพระร่วงมีอันดับด้วยกันเพราะซื้อพระร่วงหนองแจงหนึ่งองค์ แต่จะซื้อพระร่วงกรุดอนกระโดนได้ถึงสององค์เลยทีเดียว


[ พระบูชา ][ พระกรุ] [ พระเกจิฯ ] [ เหรียญ ] [ เครื่องราง ] [ พระแท้แปลกตา ] [ พระใหม่มาแรง ] [ ไฮไลทฺ์ ] [ สรรพสาระ ] [ วิเคราะห์สถานการณ์ ]

กลับไปหน้าแรก


Copyright(c) 2002 by saranugrompra.com
presented by saranugrompra@yahoo.com



แหล่งอ้างอิง : http://www.saranugrompra.com/sara_01_0046.html

โดย : เด็กชาย อภิรักษ์ กิมทอง, ร.ร. พนัสพิทยาคาร, วันที่ 9 กันยายน 2546