โรคหัวใจ

                                   

                                                  โรคหัวใจ

 

                    จะทำอย่างไร

หัวใจมีหน้าที่สำคัญอย่างไร

หัวใจประกอบด้วยโพรงกล้ามเนื้อ ซึ่งแบ่งเป็น 4 ห้อง ลักษณะคล้ายดอกบัวตูม ขนาดเท่ากำปั้นมือ มีลิ้นหัวใจอยู่ 4ห้อง ทำหน้าที่ให้เลือดไหลผ่านเข้าออกไปทางทิศเดียว โดยไม่มีการไหลย้อนกลับ คนปกติหัวใจจะบีบตัวประมาณ 60-80 ครั้งต่อวินาที ในผู้ใหญ่จะประมาณ 80-100 ครั้งต่อวินาที ในเด็กหัวใจจะบีบตัวในขณะออกกำลังกาย 140-100 ครั้งต่อวินาที

จะทราบได้อย่างไรว่าเป็นโรคหัวใจ

แพทย์จะเป็นผู้วินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจหรือไม่จะทราบจากอาการต่าง ๆ เช่น เจ็บหน้าอกหัวใจเต้นผิดปรกติ หัวใจสั่น เป็นลม หอบ เหนื่อย และบวมสิ่งที่ตรวจพบจากร่างกาย เช่น ความดันผิดปรกติและจากการตรวจพบเพิ่มเติมจากการวินิจฉัยพิเศษ เช่น ตรวจเคลื่อนไฟฟ้าวัดหัวใจ เอ็กซเรย์หัวใจและปอด

โรคหัวใจที่สำคัญ

1 โรคหัวใจจากความดันเลือก ความดันเลือดผิดปกติหัวใจทำงานหนักทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหนาขึ้นขนาดของหัวใจโต

2 โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดเกิดจากความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดและหัวใจของเด็กที่ผิดปรกติที่อยู่ในครรภ์ของมารดา 3 เดือนแรก

3 โรคหลอดเลือดโคโรนารี หรือโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเกิดจากการอุดตันในหลอดเลือดโคโรนารีที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ

4 โรคหัวใจโรมาติก พบในเด็กอายุ 7-15 ปี เกิดจากเชี้อแบคทีเรียชนิดเบต้าซีโมไรติก สเตร็ปโตคอดคัสทำให้คอเจ็บอักเสบมีไข้สูง ร่างกายจะสร้างภูมิต้านทานโรค แต่ถ้าได้รับเชื้อโรคนี้ฃ้ำอีกจะทำให้เป็นโรคเจ็บขอเท้า ข้อศอกอักเสบและสมองกล้ามเนื้อหัวใจ เยื่อบุหัวใจอักเสบก่อโรคมะเร็งได้

การตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคหัวใจ

  1. การตรวจด้วยเครื่องวัดไฟฟ้า
  2. การทดสอบสมรรถภาพหัวใจด้วยการออกกำลังกาย
  3. การตรวจหัวใจด้วยคลื่นความถี่สุง
  4. การตรวจหัวใจด้วยสารกัมมันตภาพรังสี


แหล่งอ้างอิง : จากอินเตอร์เน็ต www.goolgle.com

โดย : นางสาว สมฤดี พุกรอด, ราชภัฎ, วันที่ 28 สิงหาคม 2546